ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล by Mind Map: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล

1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล

1.1. โครงสร้างสารสนเทศ ที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ที่จะนำมาใช้ในระบบงานต่างๆ ร่วมกัน

1.1.1. Situational Analysis / Drivers

1.1.1.1. What is driving us to do this?

1.1.1.2. SWOT Analysis

1.1.1.2.1. Strengths

1.1.1.2.2. Weaknesses

1.1.1.2.3. Opportunities

1.1.1.2.4. Threats

1.1.1.3. Customer Findings - What have we learned from customers?

1.1.2. Competitive Analysis

1.1.2.1. Do we have competitors and threats in these target markets with the proposed offerings?

1.1.2.2. What are our competitors doing and how are they positioning?

1.1.2.3. How do we position against each competitor?

1.1.3. Target Customer(s)

1.1.3.1. Buyer Profile

1.1.3.1.1. Title

1.1.3.1.2. Industry

1.1.3.1.3. Geography

1.1.3.1.4. Business Size

1.1.3.2. Influencer Profile

1.1.3.3. User Profile

1.1.3.4. What do customers want and need?

1.1.3.5. What business problems do each of these customers have?

1.1.4. Customer Segmentation

1.1.4.1. Which customers or sets of customers do we sell to?

1.1.4.2. What are the target market segments that we want to go after?

1.1.4.3. What are the distinct problems for each segment of the market?

1.1.5. Total Available Market

1.1.5.1. New Prospects

1.1.5.1.1. How much of each target segment have we penetrated?

1.1.5.1.2. How much opportunity is available in each target segment?

1.1.5.2. Existing Customers

1.1.5.2.1. Can we up-sell existing customers?

1.2. 1.1.1 นิยามและคำศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล

1.2.1. บิต ( Bit) หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด

1.2.1.1. ไบต์ (Byte) หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำบิตมารวมกันเป็น ตัวอักขระ

1.2.2. เขตข้อมูล (Field) หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป

1.2.3. ระเบียน (Record) หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำเอาเขตข้อมูลหลายๆ เขต ข้อมูลมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

1.2.4. แฟ้มข้อมูล (File) หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำข้อมูลหลายๆ ระเบียนที่เป็น เรื่องเดียวกันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษาเป็นต้น

1.2.5. เอนติตี้ (Entity) ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้

1.2.6. แอทตริบิวต์ (Attribute) รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอน ติตี้หนึ่งๆ

1.2.7. ความสัมพันธ ์ (Relationships) ความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้ เช่น ความสัมพันธ์ ระหว่างเอนติตี้นักศึกษา และเอนติตี้คณะวิชา

1.2.8. 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนติตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีก เอนติตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง

1.2.9. 2 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนติตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายๆ ข้อมูลในอีกเอนติตี้หนึ่ง

1.2.10. 3 ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนติตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม

1.3. 1.2 ความเป็นมาของการจัดการฐานข้อมูล

1.3.1. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525เป็นต้นมา ได้มีซอฟต์แวร์เกิดขึ้นเพื่อสนับสนุนการท างานของระบบการ จัดการฐานข้อมูลมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการออกแบบ ตลอดจนภาษาที่ใช้ในการเรียกใช้ข้อมูล รวมทั้งความเจริญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ตลอดจนซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการประมวลผลข้อมูลได้ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทั้งภาษารุ่นที่ 4

1.3.1.1. P&L for the offer to include gross margin, net income and break even analysis.

1.4. 13ความสำคัญของการประมวลผลแบบระบบฐานข้อมูล

1.4.1. จากการจัดเก็บข้อมูลรวมเป็นฐานข้อมูลจะก่อให้เกิดประโยชน์ด้วยกันหลายประการ

1.4.1.1. 1.3.1 สามารถลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้

1.4.1.1.1. การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดานั้นอาจจะเเป็นที่ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีแฟ้ม ข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึงอาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลายๆ ที่ทำให้เกิด ความซ้าซ้อน (Redundancy) การนำข้อมูลมารวมเก็บไว้ในฐานข้อมูล จะช่วยลดปัญหาการเกิดความ ซ้าซ้อนของข้อมูลได้โดยระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) จะช่วยควบคุมความซ้าซ้อนได้ เนื่องจากระบบจัดการฐานข้อมูล

1.4.1.2. 1.3.2 หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้

1.4.1.3. สืบเนื่องจากที่กล่าวมาในข้อแรก หากมีการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลายๆ ที่ และมี การปรับปรุงข้อมูลเดียวกันนี้ แต่ปรับปรุงไม่ครบทุกที่ที่มีข้อมูลเก็บอยู่ ก็จะทำให้เกิดปัญหาข้อมูลชนิดเดียวกัน อาจมีค่าไม่เหมือนกันในแต่ละที่ที่เก็บข้อมูลอยู่ จึงก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลขึ้น

1.5. 1.3.3 สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้

1.5.1. ฐานข้อมูลจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลรวมไว้ด้วยกัน ดังนั้น หากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลที่มาจากแฟ้มข้อมูลต่างๆ ก็จะทำได้โดยง่าย

1.5.1.1. 1.3.4 สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล

1.5.1.2. การจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลอาจมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น เช่น จากการที่ ผู้ป้อนข้อมูลป้อนข้อมูลผิดพลาด จากตัวเลขหนึ่งเป็นอีกตัวเลขหนึ่ง

1.5.1.3. 1.3.5 สามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูลได้

1.5.1.4. การเก็บข้อมูลร่วมกันไว้ในฐานข้อมูล จะทำให้สามารถกำหนดมาตรฐานของข้อมูลได้ รวมทั้งมาตรฐานต่างๆ ในการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันได้ เช่น การกำหนดรูปแบบการเขียนวันที่ ในลักษณะวัน/เดือน/ปี

1.5.1.5. 1.3.6 สามารถกำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้

1.5.1.6. ระบบความปลอดภัยของข้อมูลในที่นี้ เป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิมาใช้ หรือมา เห็นข้อมูลบางอย่างในระบบ ผู้บริหารฐานข้อมูลจะสามารถกำหนดระดับการเรียกใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนได้ตามความเหมาะสม

1.5.1.7. 1.3.7 เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล

1.5.1.8. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลในแฟ้มข้อมูลใดเกิดขึ้นก็ต้องแก้ไขโปรแกรมทุกโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลดังกล่าวด้วย ถึงแม้ว่าโปรแกรมเหล่านั้น อาจจะเป็นเพียงเรียกใช้แฟ้มข้อมูลดังกล่าว เพื่อดูข้อมูลบางอย่างที่มิได้มีการปรับโครงสร้างก็ตาม ในระบบฐานข้อมูลจะมีตัวจัดการฐานข้อมูลที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงกับฐานข้อมูล โปรแกรมต่างๆ อาจไม่จำเป็นต้องมีโครงสร้างข้อมูลทุกครั้ง ดังนั้นการแก้ไขข้อมูลบางครั้ง จึงอาจกระทำเฉพาะกับโปรแกรมที่เรียกใช้ข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงเท่านัน

1.6. 1.4 รูปแบบของระบบฐานข้อมูล

1.6.1. 1.4.1 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นการ เก็บข้อมูลในรูปแบบที่เป็น ตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชัน (Relation) มี ลักษณะเป็น 2 มิติ คือ เป็นแถว (Row) และเป็นคอลัมน์ (Column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตารางจะเชื่อมโยงโดยใช้แอทตริบิวต์ (Attribute)

1.6.2. 1.4.2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database) ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะเป็นการรวมระเบียนต่างๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดยระเบียนที่ มีความสัมพันธ์กันจะต้องมีค่า ของข้อมูลในแอทตริบิวต์ใดแอทตริบิวต์หนึ่งเหมือนกัน

1.7. 1.5 โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้ โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ช่วยจัดการข้อมูลหรือรายการ ต่างๆ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การเรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล

1.7.1. 1.5.1 โปรแกรม Access นับเป็นโปรแกรมที่นิยมใช้กันมากในขณะนี้ โดยเฉพาะในระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถสร้างแบบฟอร์มที่ต้องการจะเรียกดูข้อมูลในฐานข้อมูล หลังจาก บันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูลเรียบร้อยแล้ว จะสามารถค้นหาหรือเรียกดูข้อมูลจากเขตข้อมูลใดก็ได้ การแสดงผลก็อาจแสดงทางจอภาพ หรือส่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ก็ได้

1.7.2. 1.5.2โปรแกรมFoxProเป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดเนื่องจากใช้ง่าย ทั้งวิธีการเรียกจากเมนูของ FoxPro และประยุกต์โปรแกรมขึ้นใช้งานโปรแกรมที่เขียนด้วย FoxProจะสามารถใช้ได้กับ dBASE ค าสั่งและฟังก์ชันต่างๆ ใน dBASE จะสามารถใช้งานบน FoxPro

1.7.3. 1.5.3 โปรแกรม dBASE เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลอีกชนิดหนึ่งการใช้งานจะคล้ายกับโปรแกรม FoxPro ข้อมูลหรือรายงานที่อยู่ในไฟล์บนdBASE จะสามารถส่งไปประมวลผล ในโปรแกรม Word Precessor

1.7.3.1. 1.4.3 ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database) ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น เป็นโครงสร้างที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขตข้อมูล (Field) ของเอนติตี้หนึ่งๆ นั่นเอง

1.7.4. 1.5.4 โปรแกรม SQL เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างของภาษาที่เข้าใจง่ายไม่ซับซ้อน มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้โดยใช้คำสั่งเพียงไม่กี่คำสั่ง โปรแกรม SQL จึงเหมาะที่จะใช้กับระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

2. New Topic