ยาออกฤทธิ์ต่อระบบไร้ท่อ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบไร้ท่อ by Mind Map: ยาออกฤทธิ์ต่อระบบไร้ท่อ

1. Thyroid gland

1.1. มีฮอร์โมน2 ชนิดคือ

1.1.1. Thyroxine(T4): ออกฤทธิ์นาน แต่ไม่แรง พบเยอะสุด

1.1.2. Triodothyronine(T3): ออกฤทธิ์สั้น แรง พบน้อย

1.1.3. ควบคุมระบบเผาผลาญพลังงานในร่างกาย ควบคุมการเจริญเติบโต

1.2. โรคที่เกิดจากต่อมไทรอยด์

1.2.1. มีฮอร์โมนมากเกินไป (Hyper-thyrodism)

1.2.1.1. ขื่อโรคไปดูเอานะ

1.2.1.2. อาการ: ขี้ร้อนเพราะระบบเผาผลาญมากกว่าปกติ ลักษณะจะอยู่นิ่งไม่ได้ เหงื่อออกตลอดเวลา

1.2.1.3. ยารักษาได้แก่

1.2.1.3.1. Thionamide

1.2.1.3.2. Radioactive Iodine รักษาคอพอกเป็นพิษ(Grave's disease)

1.2.2. มีฮอร์โมนน้อยเกินไป (Hypo-thyrodism)

1.2.2.1. Primary hypothyroidism ต่อมสร้างไทรอยด์ไม่เพียงพอเกิดจาก

1.2.2.1.1. ขาดไอโอดีน

1.2.2.1.2. ผ่าตัดไทรอยด์

1.2.2.1.3. Mysedema

1.2.2.1.4. Hashimoto

1.2.2.1.5. ตั้งครรภ์

1.2.2.2. Secondary hypo: อาจมี Adenoma(เนื้องอก) การผ่าตัด หรือฉายรังสี

1.2.2.3. อาการ: หนาวสั่น เหงื่อออกน้อย (ลักษณะตรงข้ามกับ Hyper)

1.2.2.4. ยารักษาได้แก่

1.2.2.4.1. Levothyyoxine (T4)

1.2.2.4.2. Liothyronine(T3)

1.2.2.4.3. Iodine(Lugol's solution)

2. Pancreas

2.1. ชนิดของเบาหวาน

2.1.1. DM type 2: ร่างกายดื้ออินซูลิน

2.1.2. DM type4: ตั้งครรภ์

2.1.3. DM type3: มีสาเหตุจำเพาะ

2.1.4. DM type 1 : เป็นแต่กำเนิด สร้างอินซูลินไม่ได้

2.2. การวินิจฉัย

2.2.1. หิวบ่อย ปัสสาวะบ่อย นน.ลด

2.2.2. FBG>126mg/dL

2.2.3. OGTT>200mg/dl

2.2.4. HbA1C>6.5%

2.3. ยาที่ใช้ในการรักษาเบาหวานชนิดที่ 2

2.3.1. กระตุ้นการหลั่งอินซูลิน

2.3.1.1. กระตุ้นการหลั่งอินซูลิน (Sulfonylurea)

2.3.1.1.1. Glibencamide, Glipizide, Glicazide

2.3.1.2. Non-sulfonylurea

2.3.1.2.1. Repaglinide

2.3.1.2.2. Nateglinide

2.3.1.3. DPP-4 inhibitor

2.3.1.3.1. Sitagliptin

2.3.1.3.2. Vildagliptin

2.3.2. ลดภาวะดื้ออินซูลิน

2.3.2.1. Biguanide(Metfomin)

2.3.2.1.1. ยาตัวแรกที่ใช้รักษาเบาหวาน เหมาะกับคนอ้วน

2.3.2.2. Thiazolidinedione

2.3.2.2.1. Rosigliatazine

2.3.2.2.2. Pioglitazine

2.3.3. alpha glucosidase inhibitor

2.3.3.1. Acarbose

2.3.3.2. Voglibose

2.3.4. GLP-1 Analog

2.3.4.1. Exenatide

2.3.4.2. Liraglutide

2.4. ยาที่ใช้รักษาเบาหวานชนิดที่ 1 และ 2

2.4.1. อินซูลิน

2.4.1.1. RI ออกฤทธิ์สั้น

2.4.1.2. NPH ออกฤทธิ์ปานกลาง

2.4.1.3. RAA ออกฤทธิ์เร็ว

2.4.1.4. LAA ออกฤทธิ์ยาว

2.4.1.5. Mixtard 70/30

3. Gonadeเพศหญิง

3.1. วิธีการกินยาคุมกำเนิด

3.1.1. เริ่มกินใน 1-5 วันแรกของการมีประจำเดือน

3.1.2. ชนิด 21เม็ดกินแล้วหยุด 7 วัน

3.1.3. ชนิด 28 เม็ดกินต่อเนื่องทุกวันไม่ต้องหยุด

3.1.4. อาการไม่พึงประสงค์

3.1.4.1. คลื่นไส้ อาเจียนจาก เอสโตรเจน

3.1.4.2. น้ำหนักเพิ่ม ความอยากอาหารเพิ่มจากโปรเจสเตอโรน

3.1.4.3. เลือดออกกระปิดกระปอย

3.1.4.4. เต้านมเจ็บและคัดตึง

3.1.4.5. สิว ฝ้า ผมร่วงจากโปรเจสเตอโรน

3.1.4.6. น้ำตาลในเลือดสูง

3.1.4.7. อุดตันของหลอดเลือด

3.1.5. หากลืมรับประทาน

3.1.5.1. 2 เม็ด ให้กินตอนเช้าเพิ่ม 2 วันรวมเป็นกินเช้า-เย็นจำนวน 2 วัน

3.1.5.2. 3 เม็ดให้หยุดกินและเริ่มแผงใหม่

3.2. ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้อง

3.2.1. ผลิตที่ต่อมใต้สมอง

3.2.1.1. FSH: กระตุ้นให้ไข่สุกและให้รังไข่สร้างเอสโตรเจน

3.2.1.2. LH : กระตุ้นให้ไข่ตก และให้รังไข่สร้าง โปรเจนเตอโรน

3.2.2. ผลิตที่รังไข่

3.2.2.1. Estrogen แสดงความเป็นหญิง เพิ่มเซลล์ของเยื่อบุมดลูก

3.2.2.2. Progesterone: ควบคุมการหนาตัวของมดลูก

3.3. ชนิดของยาคุมกำเนิด

3.3.1. เอสโตรเจน

3.3.1.1. Ethinyl estradiol, Mestranol

3.3.2. โปรเจสเตอโรน

3.3.2.1. 17-alpha-hydroxy progesterone

3.3.2.1.1. Cyproterone acetate : ออกฤทธิ์ดี นิยมมากมีฤทธิ์ antiandrogenic คือต้านฮอร์โมนเพศชาย

3.3.2.2. 19-nortestosterone

3.3.2.2.1. Norgestrel

3.3.2.3. Spirolactone

3.3.2.3.1. Drospirenone

3.4. ยาคุมกำเนิดในปัจจุบันมี 4 ประเภทคือ

3.4.1. เลียนแบบฮอร์โมนธรรมชนิด ไม่เน้นไม่ค่อยใช้

3.4.2. Combined pill ประกอบด้วยฮอร์โมน2ชนิด นิยมใช้บ่อยที่สุด

3.4.2.1. Monophasic combined pill

3.4.2.1.1. ประกอบด้วยชนิด 21เม็ดและ 21+7เม็ดแป้ง มีปริมาณฮอโมนเท่ากันตลอดทั้ง 21 เม็ด

3.4.2.2. Biphasic combined pills

3.4.2.2.1. ประกอบด้วยฮอร์โมน2 ชนิดโดยมีการปรับฮอร์โมนต่างกัน 2 ระดับใน 22 เม็ดเพื่อเลียนแบบธรรมชาติ

3.4.2.3. Triphasic combined pill

3.4.2.3.1. ประกอบด้วยฮอร์โมน2 ชนิดโดยมีการปรับฮอร์โมนต่างกัน 3 ระดับใน 21 เม็ดเพื่อเลียนแบบธรรมชาติ

3.4.3. Mini pills

3.4.3.1. มีฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนเพียงอย่างเดียว นิยมใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ประกอบด้วยฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนอย่างเดียวเท่านั้น (กินเอสโตรเจนไม่ได้เพราะจะทำให้น้ำนมน้อย)

3.4.4. Morning after pill

3.4.4.1. ยาคุมฉุกเฉิน ประกอบด้วยโปรเจสเตอโรนขนาดสูง(Levonorgestrel 0.75mg) ทำให้ปากมดลูกเหนียวข้น ไข่ไม่ตก: กินเม็ดแรกภายใน72hr

3.5. ยาฉีดคุมกำเนิดเป็นโปรเจสเตอโรนเดี่ยวๆ

3.5.1. DMPA : ฉีด IM ทุก 3 เดือน

3.5.2. NET-EN: ฉีด IM ทุก 2 เดือน

3.6. ยาคุมชนิดฝัง คุมได้ 3-5 ปี

3.7. ชนิดแผ่นแปะ

3.7.1. แปะ 3 สัปดาห์เว้น 1 สัปดาห์

4. ต่อมไร้ท่อในร่างกายได้แก่

4.1. Pituitary gland

4.1.1. Growth hormone(GH)

4.1.2. Thyroid stimulating hormone(TSH)

4.1.3. Gonadotrophic hormone

4.1.4. Antidiuretic hormone (ADH)

4.2. Thyroid gland

4.2.1. Tyroxine(T4)

4.2.2. Triiodothyronine(T3)

4.3. Parathyroid gland

4.3.1. Parathyroid hormone

4.4. Pancreas

4.4.1. Insulin

4.4.2. Glucagon

4.5. Adrenal gland

4.5.1. Glucocorticoid

4.5.2. Mineralocorticoid

4.5.3. Sex Hormone

4.6. Gonad

4.6.1. ชาย

4.6.1.1. Testosterone

4.6.2. หญิง

4.6.2.1. Estrogen

4.6.2.2. Progesterone

5. Adrenal gland

5.1. Glucocorticoidที่ใช้บ่อยทางคลินิก

5.1.1. ออกฤทธิ์ยาว

5.1.1.1. Betamethasone

5.1.1.2. Dexamethasone

5.1.2. หลักการใช้

5.1.2.1. ทดแทนการขาดฮอร์โมน

5.1.2.1.1. Adrenal insufficiency(ต่อมหมวกไตไม่ทำงาน)

5.1.2.2. ใช้วินิจฉัยและหาสาเหตุของ Cushing syndrome

5.1.2.2.1. Moon face หน้ากลมเป็นพระจันทร์

5.1.2.2.2. มีหนอกควายที่หลัง (Buffalo's hump)

5.1.2.2.3. ไขมันมารวมที่กลางลำตัว

5.1.2.2.4. น้ำตาลในเลือดสูง

5.1.3. ใช้ลดอาการอักเสบและกดภูมิต้านทาน

5.1.3.1. ลดการแพ้ชนิดต่างๆ

5.1.3.2. ใช้ในผู้ป่วยภูมิแพ้ตนเอง (Autoimmune disorder)

5.1.3.3. รักษาอาการ Bell's palsy หน้าเบี้ยวปากเบี้ยว

5.1.4. ข้อควรระวังในการใช้

5.1.4.1. ระยะเวลาในการรักษา

5.1.4.1.1. ใช้ในระยะสั้นแล้วหยุดทันที

5.1.4.1.2. หากใช้ในระยะยาว ห้ามหยุดทันทีเพราะจะกดการทำงานของต่อมหมวกไต จะต้องค่อยๆลดขนาดยาลงเรื่อยๆ

5.1.5. ความแรงของยาทาสเตรียรอยด์แบบทา

5.1.5.1. แรงสุดๆ Superpotent

5.1.5.1.1. Betamethasine dipropionate 0.05% (BD)

5.1.5.1.2. Clobetasik originate 0.05%(CO)

5.1.5.2. เบาๆ Lower mild

5.1.5.2.1. Triamcilonolne acetate 0.1%

5.1.5.2.2. Triamcilonolne acetate 0.02% ทาส่วนบางๆองร่างกายได้เช่น ใบหน้า

5.2. ผลของ Glucocorticoid ต่อระบบต่างๆในร่างกาย

5.2.1. Metabolism คาร์โบไฮเดรต

5.2.1.1. เพิ่ม Gluconeogenesis (สังเคราห์น้ำตาลเพิ่ม)ที่ตับไต

5.2.2. Metabolism โปรตีน

5.2.2.1. Anti-anabolic effect : ลดการสร้างโปรตีนในเนื้อเยื่อ

5.2.2.2. Catabolic effect: โปรตีนที่ Peripheral tissues สลายตัวให้กรดอะมิโน เอาไปสร้างกลูโคลส

5.2.3. Metabolism ไขมัน

5.2.3.1. Lipolysis : สลายไขมันบริเวณระยางค์มาสะสมที่กลางลำตัว

5.2.4. ลดการอักเสบและกดภูมิคุ้มกัน

5.2.4.1. ยับยั้งการสังเคราะห์ Cytokines

5.2.4.2. ยับยั้งPhospholipase A2

5.2.4.3. ขัดขวางเม็ดเลือดขาวเกาะติดกับ Endothelial cell

5.2.4.4. ยับยั้ง non lysosomal proteolytic enzymes จาก macrophages

5.2.4.5. Vasoconstriction : หลอดเลือดหดตัว

5.2.4.6. เสริมฤทธิ์ Beta adrenergic agonists

5.2.4.7. ขัดขวางการแบ่งตัวของ T lymogocyes ทำให้กดภูมิต้านทาน

5.2.5. ลดอาการแพ้

5.2.5.1. ลดอาการแพ้ Type3,4 แต่ไม่ได้ผลกับ Type1(IgE-mediated immediate hypersensitivity reaction)

5.2.6. ระบบหลอดเลือด

5.2.6.1. เพิ่ม Cardiac output

5.2.7. เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

5.2.7.1. ลดการสร้าง คอลลาเจน-->แผลหายช้า

5.2.8. สมดุลน้ำและเกลือแร่

5.2.8.1. ใช้นานอาจเกิดภาวะโปตัสเซียมต่ำในเลือด Hypokalenic metabolic alkalosis

5.2.9. ทางเดินอาหาร

5.2.9.1. หลั่งกรดและเอนไซม์เปปซินมาก

5.2.9.1.1. เกิดแผลในกระเพาะอาหาร (Peptic ulcer)

5.2.10. กระดูกและแคลเซียม

5.2.10.1. ทำให้กระดูกพรุน เพิ่มการขับแคลเซียมทางปัสสาวะ ต้าน Growth hormone

5.2.11. ประสาทส่วนกลาง

5.2.11.1. เพ้อฝัน(Euphoria)

5.2.11.2. อาการทางจิต(Psychosis)

5.2.11.3. ซึมเศ้รา(Depression)

5.2.11.4. ความต้องการทางเพศลดลง