ทารกแรกเกิด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ทารกแรกเกิด by Mind Map: ทารกแรกเกิด

1. ลักษณะเด็กคลอดก่อนกำหนด

1.1. ศรีษะใหญ่

1.2. ผิวบางใส ไขเคลือบน้อย

1.3. ญ

1.3.1. labia minora

1.3.2. clitoris

1.4. ช

1.4.1. Scrotum มีรอยย่น

1.4.2. Testis ไม่ลง Scrotum

2. ปัญหาที่พบ

2.1. Hypothermia อุณหภูมิตำ่

2.1.1. ภาวะแทรกซ้อน

2.1.1.1. hypoglycemia

2.1.1.2. Hypoxia

2.1.1.3. Apnea

2.1.1.4. Right to left shut

2.1.2. การสูญเสียความร้อน

2.1.2.1. ระเหย

2.1.2.1.1. เช็ดตัว

2.1.2.2. แผ่รังสี

2.1.2.2.1. จากร้อนไปเย็น

2.1.2.3. พาความร้อน

2.1.2.3.1. ลมพัดผ่าน

2.1.2.4. นำความร้อน

2.1.2.4.1. เย็นไปร้อน

2.1.3. การพยาบาล

2.1.3.1. จัดให้อยู่สวล.ที่เหมาะสม

2.1.3.1.1. ใช้ o2 + สารอาหารน้อย

2.1.3.1.2. อยู่ในตู้อบ

2.1.3.1.3. เครื่องให้รังสีความร้อน

2.1.3.2. ป้องกันการสูญเสียความร้อน

2.1.3.3. ประเมินอุณหภูมิร่างกายของทารก

2.1.3.3.1. เขียว

2.1.3.3.2. หายใจเร็ว

2.2. RDS หายใจลำบาก

2.2.1. Periodic breathing

2.2.1.1. การหายใจตื้น ไม่สมำเสมอ สลับกลั้นหายใจ 5-10 นาที ไม่มีอาการเขียว

2.2.2. ถุงลมขาดแรงตึงผิว

2.2.2.1. หายใจออก แล้วหายใจเข้าครั้งต่อไปปอดไม่พองตัว

2.2.2.2. สาร Surfuantant

2.2.2.2.1. สร้าง Aiveolar cell type II

2.2.3. อาการ

2.2.3.1. หายใจเร็ว >60 ครั้ง

2.2.3.2. ปีกจมูกบาน

2.2.3.3. หน้าอกบุ๋ม

2.2.3.4. ได้ยินเสียงคราง Crepitation

2.2.3.5. หายได้หลัง 3d.

2.2.4. การดำเนินโรค

2.2.4.1. เฉียบพลัน

2.2.4.1.1. 2-3d. อาการรุ่นแรง

2.2.4.2. ทุเลา

2.2.4.2.1. 3-5d. เริ่มสร้าง alveolar cell type II

2.2.5. การรักษา

2.2.5.1. ประคับประครอง

2.2.5.2. ให้ o2

2.2.5.2.1. CPAP

2.2.5.2.2. o2 แบบ Box

2.2.5.3. ให้แรงตึงผิว

2.3. Apnea หยุดหายใจ

2.3.1. พยาธิสภาพ

2.3.1.1. หยุดหายใจเกิน 20s.

2.3.1.2. หัวใจเต้นช้า <100 ครั้ง/นาที

2.3.1.3. เขียวคลำ

2.3.1.4. มักเกิดขณะหลับ

2.3.2. การรักษา

2.3.2.1. ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง

2.3.2.2. แก้ไขภาวะขาด o2 เมื่อเขียว

2.3.2.2.1. ใช้ Fio2 0.4 ป้องกัน ROP

2.3.2.3. ET เมื่อหยุดหายใจ

2.3.2.4. กระตุ้นจากภายนอก

2.3.2.4.1. ลูบแขน ขา นาน 5 นาที ทุก 10 นาที

2.3.2.5. นอนเตียงนำ้

2.3.2.6. ให้ยากระตุ้นการเต้นของหัวใจ

2.3.2.6.1. Theophyline

2.3.2.6.2. caffeine

2.4. BPD ปอดเรื้อรังในทารก

2.4.1. พยาธิ

2.4.1.1. ปอดถูกทำลายจาก o2 แรงดันบวกเวลานาน

2.4.2. การรักษา

2.4.2.1. ควบคุม o2 92-95%

2.4.2.2. ยาขนาดหลอดลม

2.4.2.3. รักษาสมดุลนำ้

2.4.2.3.1. Lasix

2.5. ROP พิษจาก O2

2.5.1. พยาธิ

2.5.1.1. o2 ในเลือดสูง ทำให้เลือดที่เลี้ยงตาบวม

2.5.2. ทารกควรตรวจ

2.5.2.1. นำ้หนัก <1500g ทุกราย

2.5.2.2. ทารกที่ได้ o2 เกิน 6 ชม.

2.5.2.2.1. stage I,II หายได้

2.5.2.2.2. stage III จี้เย็น

2.5.3. การรักษา

2.5.3.1. ให้ Vit A และ E

2.5.3.2. ให้ o2 ไม่เกิน 0.4

2.5.3.3. ค่าอิ่มตัวในเลือด 92-95%

2.6. ปัญหาการดูดกลืน

2.6.1. ปัญหาที่พบ

2.6.1.1. ให้สารอาหารประจำวัน

2.6.1.1.1. ครบกำหนด 100 Kcal

2.6.1.1.2. ก่อนกำหนด 120-150 Kcal

2.6.1.2. การหายใจลำบาก หอบ

2.6.1.3. ความสมบูรณ์ GI

2.6.1.3.1. GA 32w. นน.<1500g

2.6.1.3.2. >1500g ดูดนมได้เอง

2.6.1.4. หัวใจยังปิดไม่สนิท เกิดสำรอก

2.6.1.5. นำ้ย่อยในกระเพาะ

2.6.2. การพยาบาล

2.6.2.1. ให้อาหารทางปาก RR< 60ครั้ง

2.6.2.2. ทารกดื่มนมมารดา

2.6.2.2.1. ป้องกัน NEC

2.6.2.3. สัปดาห์แรก น้ำหนักลด 8-10% หลังจากนั้นน้ำหนักจะเพิ่มขึ้นวันละ 20-30g

2.6.3. การดัดแปลงนม

2.6.3.1. PF 24 cal/oz

2.6.3.2. IF 20 cal/oz

2.6.3.3. ท้องอืด

2.6.3.3.1. free lactose

2.6.3.3.2. แพ้นมวัว

2.7. NEC ลำไส้เน่า

2.7.1. พยาธิ

2.7.1.1. การขาดเลือดมาเลี้ยง

2.7.2. อาการ

2.7.2.1. ท้องอืด

2.7.2.2. อาเจียรเป็นสีน้ำดี

2.7.2.3. อุจจาระมีเลือกปน

2.7.3. การรักษา

2.7.3.1. NPO 2w

2.7.3.2. ปฎิชีวนะ

2.7.3.3. o2

2.7.3.4. OG tube

2.7.3.4.1. ดูด content

2.7.3.4.2. ลม

2.7.3.5. ผ่าตัดเมื่อลำไส้ทะลุ

2.8. Neonatal sepsis ติดเขื้อ

2.8.1. สาเหตุ

2.8.1.1. ถุงน้ำคล่ำแตกก่อน 18ชม.

2.8.1.2. ขณะคลอดกลืน/สำลักน้ำคล่ำ

2.8.1.3. หลังคลอดติดเชื้อที่ตา สะดือ ผิวหนัง

2.8.2. ปัจจัยเสี่ยง

2.8.2.1. มารดา

2.8.2.1.1. ยากจน

2.8.2.2. ทารก

2.8.2.2.1. ภูมิคุ้มกันตำ่

2.8.2.3. เชื้อโรค

2.8.2.3.1. เร็ว

2.8.2.3.2. ช้า

2.8.3. การรักษา

2.8.3.1. ให้ยาปฎิชีวนะ

2.8.3.2. รักษาแบบประคับประครอง

2.8.3.2.1. ให้o2

2.8.3.2.2. สารน้ำ

2.8.3.2.3. NPO

2.8.3.3. รักษาภาวะแทรกซ้อน

2.8.3.4. ควบคุมการแพร่กระจาย

2.8.3.4.1. ให้ทารกอยู่ห้องแยก

2.8.3.4.2. Incrubator

2.9. Hypoglycemia นำ้ตาลตำ่

2.9.1. พยาธิ

2.9.1.1. กลูโคส < 40mg

2.9.2. ความเสี่ยง

2.9.2.1. คลอดก่อนกำหนด

2.9.2.2. มารดาเป็นเบาหวาน

2.9.2.3. SGA

2.9.3. การรักษา

2.9.3.1. ไม่มีอาการ

2.9.3.1.1. 5% D/W

2.9.3.2. มีอาการ

2.9.3.2.1. 10% dextrose

2.10. MASสำลักขี้เทา

2.10.1. สาเหตุ

2.10.1.1. GA 42W

2.10.1.2. hypoxia

2.10.2. การรักษา

2.10.2.1. ก่อนคลอด

2.10.2.1.1. คลอดศรีษะใช้ลูกสูบยางแดงในปาก,จมูกออกให้หมดก่อนคลอดไหล่

2.10.2.2. หลังคอด

2.10.2.2.1. ใส่ ETtube

2.10.2.3. o2sat

2.10.2.3.1. >95%

2.10.2.4. CPAP

2.10.2.4.1. 4-6hr.น้ำ

2.11. ภาวะตัวเหลือง

2.11.1. ชนิด

2.11.1.1. physiology

2.11.1.1.1. หลังคลอด24ชม.

2.11.1.1.2. MB < 5

2.11.1.2. patiology

2.11.1.2.1. ภายใน24ชม.

2.11.1.2.2. MB > 5

2.11.2. Kernicterus

2.11.3. การรักษา

2.11.3.1. ส่องไฟ

2.11.3.2. เปลี่ยนถ่ายเลือด

2.11.3.2.1. cycle

2.11.3.3. ด้วยยา

2.11.3.3.1. phenobrabital

2.12. ส่งเสริมการเจริญเติบโต

3. จำแนกตามอายุครรภ์

3.1. SGA นำ้หนักน้อย <2500 g

3.1.1. Very low birth weight <1500g

3.1.2. Very Very low birth weight <1000g

3.2. LGA นำ้หนักเยอะ

3.3. AGA นำ้หนักปกติ

4. วิธีการประเมินอายุครรภ์

4.1. Ballard Score รอ 24 hr.ค่อยตรวจ