1. ประโยชน์ของการจัดทำทะเบียนสื่อ
1.1. 1.เพื่อการตรวจสอบนับจำนวนและปริมาณของสื่อในหน่วยงาน
1.2. 2.เพื่อการจัดการหมุนเวียนการให้บริการสื่อสำหรับหน่วยงาน
1.3. 3.เพื่อบันทึกสถิติของสื่อที่ถูกใช้หรือให้ยืม
1.4. 4.เพื่อการจัดเก็บสื่อให้เป็นระเบียบและเป็นหมวดหมู่
1.5. 5.เพื่อแสดงสถานะ และสถานที่ต้นสังกัดของสื่อที่นำมาใช้
2. รูปแบบของการจัดทำทะเบียนสื่อ
2.1. สมุดทะเบียนควบคุมสื่อ
2.1.1. เป็นรูปเล่มที่เจ้าหน้าผู้ควบคุมสื่อ
2.1.2. การจัดทะเบียนสื่อพกพาได้สะดวก
2.1.3. การสืบค้นประวัติสื่อดำเนินการได้ยาก
2.2. แบบฟอร์มทะเบียนควบคุมสื่อ
2.2.1. มีระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้อง
2.2.2. ใช้เพื่อการบันทึกตรวจสอบ
2.3. แบบฟอร์มทะเบียนออนไลน์
2.3.1. มีระบบคอมพิวเตอร์และระบบอินเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้อง
2.3.2. สามารถกรอกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ได้ทุกเวลาและสถานที่
3. ความสำคัญของการจัดทำทะเบียนสื่อ
3.1. การเลือกสรรชนิดและประเภทของสื่อที่จะต้องมีการลงทุนทั้งเวลา ทรัพยากร และแรงงานในการผลิต
3.2. การจัดทำทะเบียนสื่อทั้งประเภทวัสดุและครุภัณฑ์จึงถือเป็นหัวใจสำคัญของการจัดเก็บลื่อ
3.3. หน่วยงานเมื่อได้สื่อมาเป็นที่เรียบร้อยแล้วจึงควรจัดทำสำเนาเพื่อการบริการให้ยืม เพื่อการศึกษา ค้นคว้า หรือนำไปใช้ประกอบการบรรยาย
3.4. วัสดุและครุภัณฑ์ที่สามารถจัดเป็นศูนย์หรือหน่วยงานที่ให้บริการยืม เพื่อการนำไปใช้เผยแพร่ตามวัตถุประสงค์จึงจะทำให้สื่อที่ผลิตมานั้นใช้ได้คุ้มค่า
4. การบันทึกสถิติการใช้สื่อ
4.1. เพื่อบันทึกการนำไปใช้ สภาพการใช้งาน จำนวนวันเวลา
4.2. บันทึกเพื่อเก็ยสถิติอันเป็นผลงานของผู้ให้บริการ
4.3. เพื่อใช้ประกอบในการวางแผนการเพิ่มหรือลดจำนวน สื่อเพื่อการให้บริการที่เหมาะสม
5. ประเภทของสื่อในการจัดทำทะเบียนสื่อ
5.1. สื่อในการฟัง หรือโสตอุปกรณ์(Audio Media)
5.1.1. เช่น แผ่นเสียง/เทปบันทึกเสียง/ระบบกระจายเสียง/วิทยุ
5.2. สื่อในการเห็น หรือทัศนูปกรณ์(Visual Media)
5.2.1. เช่น สื่อสิ่งพิมพ์/รูปภาพ/นิทรรศการ/ป้ายภาพยนต์/สไลด์/แผ่นโปร่งใสเครื่องฉายต่างๆ
5.3. สื่อในการฟังและการมองเห็น หรือโสตทัศนูปกรณ์(Audia Visual Media)
5.3.1. เช่น สื่อประเภทภาพยนต์เสียง/โทรทัศน์/สไลด์เสียง/ฟิล์มสตริปเสียง
6. วิธีการจัดทำทะเบียนสื่อ
6.1. การจำแนกประเภท(Classification)
6.1.1. ระบบดิวอี้(The Dewey Decimal Classification)
6.1.1.1. แบ่งหนังสือออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆ จากหมวดหมู่ใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อยต่างๆ
6.1.2. ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์และไม่ใช่สื่อสิ่งพิมพ์(Printed Media and Non-printed Media)
6.1.2.1. การกำหนดค่าหมวดหมู่เป็นตัวเลขที่เราเรียกว่า Call Number
6.2. การทำดรรชนี(Cataloging)
6.2.1. มีการทำบัตรคำ(Card)
6.2.1.1. บัตรผู้แต่ง(Author card)
6.2.1.2. บัตรชื่อวิชา(Subject card)
6.2.1.3. บัตรชื่อเรื่อง(Title card)
6.2.2. เรียงตามลำดับตัวอักษรของชื่อวิชา ชุดชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง วันเดือนปี
6.2.3. การค้นคว้าหาสื่อได้ง่ายและรวดเร็ว
7. การจัดเก็บและรักษาสื่อ
7.1. การจัดเก็บสื่อควรมีการจัดเรียงบนชั้น ตู้ หรือกล่องให้เหมาะสมตามสภาพสื่อ
7.2. การจัดทำเป็น Catalog ภาพติดไว้ที่ตู้หรือชั้นที่เก็บสื่อนั้นๆ
7.3. เน้นให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ
8. การตรวจสภาพสื่อ
8.1. การตรวจสภาพสื่อควรทำทั้งก่อน-หลังการให้ยืม
8.2. การตรวจสอบสื่อก่อนเก็บเข้าชั้นหรือตู้ตามปกติ
8.3. การตรวจเช็คทำความสะอาดหรือเปลี่ยนวัสถุบางชิ้น โดยทำบัตรตรวจสภาพกำกับสื่อทุกชนิดทุกประเภท
8.3.1. เช่น การเปลี่ยนหลอดฉาย/การเปลี่ยนเฟือง/อะไหล่/สายสะพานประจำเครื่อง