1. Blaunt injury
1.1. Massive hemothorax
1.1.1. massive > 1500 ml , moderate 350-1500 ml ,minimal < 350 ml
1.1.2. อาการและอาการแสดง
1.1.2.1. อาการของ hypovolemic shock , พร่องออกซิเจน , หายใจลำบาก แน่นหน้าอก
1.1.3. ตรวจร่างกาย
1.1.3.1. ทรวงอกเคลื่อนไหวน้อย ,Dullness on percussion , Decrease breath sound
1.1.4. การรักษา
1.1.4.1. ICD , ให้ออกซิเจน ,ให้สารน้ำทดแทน
1.2. Pericardial tamponade
1.2.1. อาการและอาการแสดง
1.2.1.1. Pulse paradoxus ขณะหายใจเข้าชีพจรจะเบา systolic ต่ำลงมาก
1.2.1.2. เคาะหน้าอกได้ยินเสียงทึบกว่าปกติ
1.2.1.3. Beck ’ s triad (เสียงหัวใจเบา หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง BP drop)
1.2.1.4. ฟัง : Pericardial friction rub
1.2.1.5. สับสน กระสับกระส่าย เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก โน้มตัวไปข้างหน้าจะดีขึ้น cardiogenic shock
1.2.2. การตรวจพิเศษ
1.2.2.1. x-ray water bottle shaped
1.2.2.2. EKG : QRS ลดลง
1.2.2.3. Pericardiocentasis พบสารเหลวหรือเลือด
1.2.2.4. Echocardiography มีสารเหลวในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
1.2.3. การรักษา
1.2.3.1. ผ่าตัดทรวงอก
1.2.3.2. เจาะช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
1.2.3.3. ผ่าตัดช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
2. Tension pneumothorax
2.1. Cause
2.1.1. ใส่เครื่องช่วยหายใจ
2.1.2. แทงสายสวนหลอดเลือดดำ
2.2. อาการและอาการแสดง
2.2.1. หลอดลมเอียง การเคลื่อนไหวของทรวงอกผิดปกติ CVP สูง ชีพจรเร็ว BP drop พร่องออกซิเจน
2.3. การตรวจวินิจฉัย
2.3.1. เคาะ: เสียงโปร่งมากกว่าปกติ
2.3.2. ฟัง: เสียงลมเข้าเบาลงในด้านที่มีพยาธิสภาพ
2.3.3. Needles thoracentesis หลอดลมจะดัน inner ขึ้น
2.3.4. X – ray : จะเห็นเงาของลมอยู่ระหว่างปอดกับผนังทรวงอก
2.4. การพยาลเบื้องต้น
2.4.1. three side dressing
3. penetrating
3.1. open pneumothorax
3.1.1. การตรวจร่างกาย
3.1.1.1. คลำ: เสียงกรอบแกรบ หลอดลมเอียงไปด้าน
3.1.1.2. เคาะ: เสียงโปร่งมากกว่าปกติ
3.1.1.3. ฟัง : เสียงลมเข้าเบาลงในด้านที่มีพยาธิสภาพ
3.1.1.4. : ดู ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น เขียว เส้นเลือดที่คอโป่งพอง มีบาดแผลที่ทรวงอก
3.1.2. อาการและอาการแสดง
3.1.2.1. ชีพจรเต้นเร็ว chest pain เจ็บมากขึ้น เวลาหายใจและขยับตัว
3.1.3. การพยาบาลเบื้องต้น
3.1.3.1. ปิดแผลแบบ three side dressing