Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เทคโนโลยีสัมพันธ์ by Mind Map: เทคโนโลยีสัมพันธ์

1. เทคโนโลยีคืออะไร?

1.1. การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น

1.2. ประโยชน์ของเทคโนโลยี - ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาล - ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ด้วยการช่วยคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยาก ซับซ้อน

2. เทคโนโลยีท้องถิ่นและเทคโนโลยีนำเข้า

2.1. เทคโนโลยีท้องถิ่น เทคโนโลยีดั้งเดิม ที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ในการดำเนิน ชีวิต การทำมาหากิน การต่อสู้กับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อม ของคนในท้องถิ่นนั้น เทคโนโลยีท้องถิ่น จะมีลักษณะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ของท้องถิ่น

2.1.1. อาหารการกิน

2.1.2. การสร้างบ้านเรือน

2.2. เทคโนโลยีนำเข้า แม้ว่าเทคโนโลยีทางการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตรของไทย จะมีอยู่ในระดับสูง แต่เทคโนโลยีอุตสาหกรรม รวมทั้งเทคโนโลยีด้านอื่น ๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศ ยังกล่าว ได้ว่าอยู่ในระดับต่ำเทคโนโลยีเหล่านี้ จำเป็นต้องรับเอามาจากต่างประเทศ และนำมาพัฒนา ปรับปรุง ให้เหมาะสม

2.2.1. อุปกรณ์ทางการแพทย์

2.2.2. เครือข่าย อินเทอร์เน็ต

2.2.3. การคมนาคม

3. ความสัมพันธ์และบทบาทของเทคโนโลยี

3.1. ด้านการดำรงชีวิตประจำวัน

3.1.1. เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานการดำรงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทำให้การสร้างที่พักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิตสินค้าและให้บริการต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น

3.1.1.1. การเดินทาง รถยนต์ รถไฟฟ้า เครื่องบิน

3.1.1.2. การสื่อสาร โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต

3.2. ด้านการพัฒนาประเทศ

3.2.1. การพัฒนาเศรษฐกิจ

3.2.1.1. นำมาประยุกต์ ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศและเพื่อการส่งออก

3.2.2. การพัฒนาการศึกษา

3.2.2.1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

3.2.2.2. การศึกษาทางไกล

3.2.2.3. การใช้งานห้องปฏิบัติการ

3.2.3. การพัฒนาสังคม

3.2.3.1. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์

3.3. ด้านสิ่งแวดล้อม

3.3.1. ทรัพยากรธรรมชาติ นำเอาเทคโนโลยีGIS เข้ามาจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยกำหนดข้อมูลด้านตำแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก

3.3.1.1. การรีไซเคิล

3.3.1.2. การผลิตพลังงานสะอาด

4. เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ

4.1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ

4.1.1. เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนำมาประยุกต์ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศ และเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

4.2. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านด้านสังคม

4.2.1. ด้านสังคม ช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริชองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้ เช่นโรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล ผู้ต้องขัง และคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY ( Digital Accessible Information System)

5. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

5.1. วิทยาศาสตร์

5.1.1. เทคโนโลยีเกิดจากการใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่

5.1.1.1. เครื่องมือหรือฮาร์ดแวร์

5.1.1.1.1. เครื่องบิน

5.1.1.1.2. เครื่องบำบัดน้ำเสีย

5.1.1.1.3. เครื่องปรับอากาศ

5.1.1.2. วิธีการหรือซอฟต์แวร์

5.1.1.2.1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์

5.1.1.2.2. วิธีจัดการระบบบริหารองค์กร

5.1.2. การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในเทคโนโลยีนั้น มีจุดประสงค์เพื่อแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี

5.2. เกษตรศาสตร์

5.2.1. การปรับปรุงพันธุ์พืช

5.2.2. วิธีการขยายพันธุ์โดยใช้ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์

5.2.3. การโคลนนิ่งสัตว์

5.2.4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

5.2.5. การปลูกพืชออแกนิก

5.3. ศึกษาศาสตร์

5.3.1. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น

5.3.2. เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน

5.3.2.1. การใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาสิ่งมีชีวิต

5.3.2.2. การใช้กล้องโทรทรรศน์ศึกษาดวงดาว

5.3.3. ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน

5.3.3.1. การใช้ google classroom

5.3.4. การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง

5.3.5. ทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด

5.3.5.1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

5.3.6. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ

5.4. โภชนศาสตร์

5.4.1. เทคโนโลยีการถนอมอาหารโดยการพาสเจอร์ไรซ์และการสเตอริไลซ์

5.4.1.1. นมสดพาสเจอร์ไรซ์

5.4.1.2. อาหารกระป๋อง

5.4.2. การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี

5.4.2.1. กระเทียม

5.4.2.2. หัวหอม

5.5. แพทยศาสตร์

5.5.1. เครื่องมือทางการแพทย์

5.5.1.1. เครื่องช่วยหายใจ

5.5.1.2. ชุดตรวจเลือดแบบดิจิตัล

5.5.1.3. เครื่อง X-ray

5.5.1.4. หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด

5.5.2. ส่งต่อข้อมูลไปยังจุดให้บริการอื่นๆ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการรักษา

5.5.2.1. ฐานข้อมูลเชื่อมต่อภายในศูนย์พยาบาล

5.5.2.2. การบันทึกข้อมูลในฟอร์มโปรแกรม

5.6. พลังงานและสิ่งแวดล้อม

5.6.1. มีการผลิตพลังงานในรูปแบบใหม่

5.6.1.1. การผลิตพลังงานไฟฟ้า

5.6.1.1.1. กังหันลม

5.6.1.1.2. โรงไฟฟ้าถ่านหิน

5.6.2. พัฒนาสิ่งแวดล้อม

5.6.2.1. บำบัดน้ำเสีย

5.6.2.1.1. กังหันน้ำชัยพัฒนา

5.6.2.1.2. ก๊าซชีวภาพ

5.6.2.2. ปัญหาความแห้งแล้ง

5.6.2.2.1. การทำฝนหลวง