1. 6. จงอธิบายอีคอมเมิร์ซแบบ Click and Mortar พร้อมยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ท าธุรกิจนี้ มา 3 ตัวอย่าง
1.1. เป็นกลยุทธ์ที่ผสมระหว่าง 2 กลยุทธ์แรกมารวมกัน โดยมีทั้งหน้าร้านซึ่งลูกค้าสามารถเดินเลือกซื้อช่องทางการค้าบนอินเตอร์เน็ตจะทำให้ลูกค้ามีควาสะดวกสบายมากขึ้นสามารถทำธุรกรรมต่างๆ เช่น ซื้อขายได้จนจบ ไม่ต้องไปหน้าร้านจริงก็ได้ เช่น
1.1.1. KFC
1.1.2. The pizza company
1.1.3. MC Donald
2. 7. จงอธิบายอีคอมเมิร์ซแบบ Click and Click พร้อมยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ท าธุรกิจนี้ มา 3 ตัวอย่าง
2.1. E-Commerce ที่มีรูปแบบการค้าขายหรือการให้บริการ ผ่านทางเว็บไซต์และอินเทอร์เน็ต เพียงช่องทางเดียวเท่านั้น ไม่มีธุรกิจหรือหน้าร้านค้าจริงๆ ให้คนสามารถไปซื้อหรือรับสินค้าได้ ดังนั้นเมื่อลูกค้าสั่งซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์จะทำการส่งสินค้าไปให้ลูกค้าถึงที่อยู่ของลูกค้านั้นๆ ยกตัวอย่างเช่น เว็บไซต์
2.1.1. http://www.tohome.com/
2.1.2. http://www.thailovelinks.com/
2.1.3. www.lazada.co.th
3. 8. ส่วนประกอบหลักที่ส าคัญต่างๆ ในการด าเนินงานของอีคอมเมิร์ซ ประกอบด้วย อะไรบ้าง
3.1. 1. ไอเดีย
3.2. 2. ผู้นำ
3.3. 3. ทีมงาน
3.4. 3. ทีมงาน
3.5. 5. แผนธุรกิจ
3.6. 6. การดำเนินการ
3.7. 7. ระยะเวลา
3.8. 8. การตอบสนองต่อวิกฤต
3.9. 9. การตลาด
3.10. 10. การเติบโต
4. 9. ประเภทของอีคอมเมิร์ซมีกี่ประเภท อะไรบ้าง อธิบาย
4.1. 1. การประยุกต์ใช้ E-Commerce Application
4.2. 2. โครงสร้างพื้นฐาน E-Commerce Infrastructure
4.3. 3. การสนับสนุน E-Commerce Supporting
4.4. 4. การจัดการ E-Commerce Management
5. 10. ปัจจัยหลักอะไรที่มีต่อการขับเคลื่อนธุรกิจที่ด าเนินอยู่ ไปสู่ระบบอีคอมเมิร์ซ
5.1. อีคอมเมิร์ซ 3 ประเภท ถ้าจะแบ่งอีคอมเมิร์ซเป็น 3 ประเภทก็อาจจะแบ่งได้ ดังต่อไปนี้
5.2. อีคอมเมิร์ซระหว่างผู้บริโภคกับธุรกิจ หรือ บีทูซี (B-to-C = Business-to-Consumer) ซึ่งอาจจะมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
5.2.1. การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้บริโภคกับธุรกิจโดยใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ วิดีโอคอนเฟอเร็นซ์ กลุ่มสนทนา กระดานข่าว เป็นต้น
5.2.2. การจัดการด้านการเงิน ช่วยให้ผู้บริโภคสามารถจัดการเรื่องการเงินส่วนตัว เช่น ฝาก-ถอน เงินกับธนาคาร ซื้อขายหุ้นกับผู้ค้าหุ้น เช่น อีเทรด (www.etrade.com) เป็นต้น
5.2.3. ซื้อขายสินค้าและข้อมูล ช่วยให้ผู้บริโภคสามารถซื้อขายสินค้าและข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ตได้โดยสะดวก
5.3. อีคอมเมิร์ซภายในองค์กรหรือแบบอินทราออร์ก (Intra-Org E-commerce) คือ การใช้อีคอมเมิร์ซในการช่วยให้บริษัทหรือองค์ใดองค์กรหนึ่งสามารถปรับปรุงการทำงานภายในและให้บริการลูกค้าได้ดีขึ้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้
5.3.1. การติดต่อสื่อสารภายในองค์กรจะสะดวกรวดเร็วจะได้ผลดีขึ้น โดยใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ วีดีโอคอนเฟอเรนซ์ และป้ายประกาศ เป็นต้น
5.3.2. การจัดพิมพ์เอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรืออีพับลิซซิง (Electronic Publishing) ช่วยให้บริษัทสามารถออกแบบเอกสาร จัดพิมพ์เอกสาร และแจกจ่ายเอกสารได้สะดวกรวดเร็ว และใช้ค่าใช้จ่ายน้อย ไม่ว่าจะเป็นคู่มือข้อกำหนดสินค้า (Product Specifications) รายงานการประชุม เป็นต้น ทั้งนี้โดยผ่านเว็บ
5.3.3. การปรับปรุงประสิทธิภาพพนักงานขาย การใช้อีคอมเมิร์ซแบบนี้ช่วยปรับปรุงการสื่อสารระหว่างฝ่ายผลิตกับฝ่ายขาย และระหว่างฝ่ายขายกับลูกค้า ทำให้ได้ประสิทธิภาพดีขึ้น
5.4. อีคอมเมิร์ซระหว่างองค์กรหรือแบบอินเตอร์ออร์ก (Inter-Org E-commerce) ซึ่งก็คือแบบเดียวกับแบบที่เรียกว่าบีทูบี (Business to Business) ทั้งนี้โดยมีตัวอย่างต่อไปนี้
5.4.1. การจัดซื้อ ช่วยให้จัดซื้อได้ดีขึ้น ทั้งด้านราคา และระยะเวลาการส่งของ
5.4.2. การจัดการสินค้าคงคลัง
5.4.3. การจัดส่งสินค้า
5.4.4. การจัดการช่องทางขายสินค้า
5.4.5. การจัดการด้านการเงิน
6. 2. คุณสมบัติสำคัญ 8 ประการของเทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซ มีอะไรบ้าง
6.1. 1. การมีอยู่ทั่ว ทุกหนแห่ง Ubiquity คือ การค้าในรูปแบบเดิม ผู้บริโภคต้องเดินทางมายังร้านค้าหรือตลาดนัด ที่เป็น แหล่งรวมของสินค้าต่างๆเพื่อเลือกซื้อสินค้า 2. ขอบเขตครอบคลุมทั่วโลก Global Reach คือ เทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซอนุญาตให้ดำเนินธุรกรรมทางการค้าอย่างปราศจากพรมแดน 3. มาตรฐานระดับสากล Universal Standards คือ เนื่องจากเทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซใช้ระบบสื่อสารบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็น โครงสร้างหลักซึ่งเป็นมาตรฐานระบบเปิด มีความยืดหยุ่นสูง ส่งผลให้ระบบคอมพิวเตอร์เป็นโครงสร้างหลักที่มีแพล็กฟอร์มแตกต่างกันสามารถ เชื่อมโยงสื่อสารกันได้โดยปราศจากปัญหาใดๆโดยจะมีโปรโตคอลมาตรฐานอย่าง TCP / IP ซึ่งเป็นกลุ่มของกฎเกณฑ์ที่นำมาใช้เป็นข้อตกลงด้านการสื่อสารเพื่อรับส่ง ข้อมูลระหว่างกัน 4.ความสมบูรณ์ในข่าวสาร Richness คือ ความสมบูรณ์สารสนเทศจะอ้างถึงความซับซ้อนทางด้านเนื้อหาของข่าวสารโดยข่าว สารที่ส่งผ่านสื่อทางเทคโนโลยีสารนเทศเท่านั้น สามารถถูกจัดทำขึ้นได้อย่างสมบูรณ์โดยไม่ยาก ไม่ว่าจะเป็นข้อความ เสียง และวิดีโอ ที่ถูกนำมาประสมรวมกันเป็นเทคโนโลยีมัลติมีเดียและนำมาเสนอผ่านเว็บที่มี ลูกค้าจำนวนมากเข้าถึง โดยไม่จำเป็นต้องนำเสนอต่อหน้าลูกค้าอย่างเช่นแต่ก่อน 5.การโต้ตอบระหว่างกัน Interactivity คือ เทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซเป็นระบบที่อนุญาตให้ผู้ขายและผู้ซื้อสามารถติดต่อสื่อสารกันได้แบบสองทาง 6.ความหนาแน่นของสารสนเทศ Information Density คือ เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและเว็บส่งผลต่อการเพิ่มความหนาแน่นทางสารสนเทศได้ อย่างมากมายความสามารถในการเผยแพร่ข่าวสาร ให้กระจายไปทั่วทุกมุมโลกด้วยความรวดเร็วบนต้นทุนที่ต่ำ 7.ความเป็นเฉพาะตัวและการปรับแต่งให้เหมาะสมกับบุคคล Personalization/ Customization คือ ผู้ประกอบการสามารถใช้เทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทางการ ตลาดเฉพาะบุคคลได้ด้วยการนำข้อมูลส่วนตัวที่ได้จากโปรไฟล์ของลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นชื่อ ความสนใจ ความชอบ รสนิยม งานอดิเรก และพฤติกรรมการซื้อสินค้าที่ผ่านมา จากนั้นก็จะนำมาวิเคราะห์เพื่อเสนอสินค้าหรือบริการแก่ลูกค้า 8.เทคโนโลยีทางสังคม Social Technology คือ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซก่อให้เกิดกลุ่มสังคมชุมชนออนไลน์ที่ นับวันจะเพิ่มมากขึ้นทุกขณะ โดยอนุญาตให้ผู้ใช้สามารถสร้างและแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ให้แก่เพื่อนๆที่อยู่ในชุมชนออนไลน์เดียวกันบนเครือข่าย เวิลด์ไวด์เว็บแห่งนี้ผ่านหัวเรื่องสำคัญต่าง ๆ ที่อาจอยู่ในรูปแบบของข้อความ วีดิโอเพลงหรือรูปภาพ สิ้นสุดการสนทนาผ่านแชท พิมพ์ข้อความ... เลือกไฟล์ เลือกไฟล์
7. 3. จงสรุปคุณประโยชน์ และข้อจากกัดของอีคอมเมิร์ซในแง่มุมต่าง ๆ
7.1. ประโยชน์
7.1.1. 1. เป็นการค้าที่ไร้พรมแดน ไม่มีการแบ่งทวีปหรือประเทศ ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องระยะทาง และการเดินทาง ท่านสามารถที่จะซื้อสินค้าจากร้านหนึ่ง และเดินทางไปซื้อสินค้าจากร้านอีกร้านหนึ่งซึ่งอยู่คนละทวีปกันได้ ในเวลาเพียงไม่กี่นาที
7.1.2. 2. เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายขนาดใหญ่ทั่วโลก ฐานผู้ซื้อขยายกว้างขึ้น
7.1.3. 3. คุณสามารถทำการค้าได้ตลอด 24 ชั่วโมงและเปิดได้ทุกวันโดยไม่วันหยุด
7.1.4. 4. คุณไม่มีความจำเป็นต้องจ้างพนักงานขายเพราะเจ้า E-Commerce จะทำการค้าแบบอัตโนมัติให้คุณ ไม่ต้องมีสินค้าคงคลังหรือมีก็น้อยมาก
7.1.5. 5. คุณไม่มีความจำเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายในการสร้างตึกแถว เพื่อใช้เป็นร้านค้า เพียงแค่สร้าง Web Site ก็เปรียบเสมือนร้านค้าของคุณแล้ว ไม่ต้องเสี่ยงกับทำเลที่ตั้งของร้านค้า
7.1.6. 6. E-Commerce สามารถเก็บเงิน และนำเงินฝากเข้าบัญชี ให้คุณโดยอัตโนมัติ
7.2. ข้อจำกัด
7.2.1. 1. ความเสี่ยงจากการที่ยังไม่มีกฎหมายมารองรับการค้าแบบ E-Commerce เพราะฉะนั้นเราควรเขียนคำบรรยายถึงขอบเขตในการรับผิดชอบของเราทีมีต่อลูกค้าให้ชัดเจน เช่น ซื้อสินค้าแล้วไม่รับคืนก็ต้องแจ้งลูกค้าให้เข้าใจ
7.2.2. 2. ไม่มีการกำหนดมาตรฐานในด้านภาษีเนื่องจากยังไม่มีกฎหมายมารองรับ
7.2.3. 3. ปัญหาในการจัดส่งสินค้าที่ไม่สะดวกรวดเร็ว หรือสินค้าชำรุดเสียหาย ซึ่งได้แก่ พวกสินค้าที่เป็นของสด เช่น อาหาร หรือดอกไม้ สินค้าเหล่านี้ อาจเสียหาย หรือเสื่อมสภาพ เน่าเสีย จากระยะเวลา ในการขนส่งได้
7.2.4. 4. ปัญหาจากการขนส่งสินค้าที่มีมูลค่าสูงเช่น อัญมณีต่างๆ บริษัทขนส่งมักจะไม่ยินดีที่จะรับส่งของเหล่านี้ เนื่องจากโอกาสสูญหายได้ง่าย
7.2.5. 5. การทุจริตฉ้อโกง เช่น การปลอมบัตรเครดิต
7.2.6. 6. ไม่แน่ใจผู้ขายเป็นผู้ประกอบการที่ปฏิบัติธุรกิจถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ และน่าเชื่อถือเพียงใด
7.2.7. 7. ทำสัญญาซื้อขายผ่านระบบอินเทอร์เน็ตจะถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่
7.2.8. 8. ผู้ขายยังไม่มั่นใจว่าตัวตนจริงของลูกค้าจะเป็นบุคคลคนเดียวกับที่แจ้งสั่งซื้อสินค้าหรือไม่ นั่นคือผู้ขายไม่มั่นใจว่า ผู้ซื้อมีความสามารถจ่ายเงินค่าสินค้าหรือบริการหรือไม่
8. 4. มิติของความเป็นอีคอมเมิร์ซ จะพิจารณาจากปัจจัยใดบ้าง จงอธิบาย
8.1. 1.ผลิตภัณฑ์ (Product) 2. กระบวนการ (Process) 3. วิธีการส่งมอบ (Delivery Method)
9. 5. ความแตกต่างระหว่าง Pure e-Commerce และ Partial e-Commerce คืออะไร
9.1. Pure E-commerce คือ การทำธุรกรรม E-commerce ในรูปแบบดิจิตอล Digital ทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนที่เริ่มจาก
9.1.1. การสั่งซื้อสินค้า หรือ บริการ
9.1.2. กระบวนการชำระเงิน
9.1.3. การส่งมอบ