กรอบแนวคิดและการศึกษาประวัติศาสตร์ในไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
กรอบแนวคิดและการศึกษาประวัติศาสตร์ในไทย by Mind Map: กรอบแนวคิดและการศึกษาประวัติศาสตร์ในไทย

1. การศึกษาประวัติศาสตร์ในประเทศไทย

1.1. ร.3 และ ร.5

1.1.1. ศึกษาประวัติศาสตร์โดยตรวจสอบข้อมูลหลักฐาน ตั้งคำถามและหาความจริงในอดีต เกิดจากการรับอิทธิพลแนวคิดตะวันตก

1.2. ร.6 และ ร.7

1.2.1. มีผลงานเขียนทางประวัติศาสตร์ไทยเกิดขึ้นหลายเรื่อง และหลายรูปแบบ ซึ่งเขียนขึ้นเพื่อกระตุ้นให้คนไทยมีจิตสำนึกเรื่องชาติ และการปลูกฝังความรักชาติไทย

1.3. ร.9

1.3.1. ใช้หลักฐาน หลายประเภทมากขึ้น ส่งเสริมการเรียนประวัติศาสตร์ ทำให้เห็นมุมมองที่กว้างขึ้นทั้งด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตีความ

2. วิธีการทางประวัติศาสตร์

2.1. 1. การตั้งคำถาม

2.1.1. ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ทำไมและอย่างไร

2.2. 2. การค้นคว้าหาข้อมูลและหลักฐาน

2.2.1. ค้นหาหลักฐานทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ และคำ ถามที่กำหนด โดยพยายามรวบรวมข้อมูลให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้

2.3. 3. การวิเคราะห์ ข้อมูลหลักฐาน

2.3.1. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือและจัดลำดับความสำคัญ

2.3.1.1. วิพากษ์วิธีภายนอก

2.3.1.1.1. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของหลักฐาน

2.3.1.2. วิพากษ์วิธีภายใน

2.3.1.2.1. พิจารณาและหาความหมายของหลักฐาน

2.4. 4. การสังเคราะห์ข้อมูล

2.4.1. รวบรวมข้อข้อเท็จจริงต่าง ๆ พร้อมทั้งอธิบายว่า ข้อเท็จจริงเหล่านั้นสำคัญ และมีความสัมพันธ์อย่างไร มีเหตุและผลสอดคล้องต่อเนื่องกันอย่างไร

2.5. 5. การเรียบเรียงและการนำเสนอ

3. กรอบแนวคิด

3.1. สมัยก่อนผู้เขียนเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ไทยส่วนใหญ่เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องอยู่ใน ราชสำนัก หรือเป็นที่ยอมรับว่าเป็นผู้รู้ เช่น นักบวชหรือผู้นำทางศาสนา

3.2. บันทึกเป็นตำนาน พงศาวดาร

3.3. เนื้อหามักเน้นที่เรื่องราวทางศาสนา การก่อตั้งบ้านเมือง การกำเนิดของปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน และวีรกรรมของกษัตริย์หรือวีรบุรุษไทย