Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Phototherapy by Mind Map: Phototherapy

1. Complications

1.1. Retina damage

1.2. Diarrhea

1.3. Dehydration

1.4. ผื่นแดงตามผิวหนัง

1.5. Burn from light

1.6. Bronze baby

2. ข้อห้ามในการทำ

2.1. 1) ทารกที่เป็น direct hyperbilirubinemia

2.2. 2) ทารกที่มีประวัติครอบครัวเป็น light sensitive porphyria

3. ชนิดของการเกิดตัวเหลืองในเด็กทารกแรกเกิด

3.1. Physiological jaundice

3.2. Pathological Jaundice

3.2.1. Conjugated hyperbilinamia

3.2.1.1. อาจมีสาเหตุมาจากทั้ง - extrahepatic เช่น ถุงน้ำดีตีบตัน -intrahepatic เช่น ตับอักเสบในทารก

3.2.2. Unconjugated hyperbiliribinemia

3.2.2.1. -มีการสร้าง bilirubin สูงจากภาวะ hemolytic -ตับกำจัด bilirubin ได้น้อย เช่น ทารก preterm , g6pd deficiency , sepsis

4. ข้อบ่งชี้ในการหยุดส่องไฟ

4.1. ทารกสามารถหยุดส่องไฟได้เมื่อระดับ bilirubin ต่ำกว่า 13-14 mg/dL ถ้าหยุดphototherapy ตอนทารกอายุน้อยกว่า 3-4 วัน หรือทารกมีตัวเหลืองเนื่องจากภาวะ hemolysis ควรตรวจหาระดับ bilirubin ซ้ำหลังภายใน 12-24 ชั่วโมงหลังหยุด

5. คือ?

5.1. คือการรักษาด้วยแสงไฟที่มีความยาวคลื่น (wavelength) ระหว่าง 420-475 nm. แสงจะเปลี่ยน indirect bilirubin ที่ผิวหนัง ให้เป็น isomer อื่น (isomerization) หรือเป็นสารอื่นซึ่งจะละลายน้ำได้และไม่เป็นอันตรายต่อสมอง สามารถขับออกทาง ร่างกายทางอุจจาระและปัสสาวะ

6. การพยาบาล

6.1. ตรวจหาหรือติดตามสาเหตุของการเกิดตัวเหลือง

6.2. ตรวจดูระยะห่างของหลอดไฟให้ห่างประมาณ 45-50 cms

6.3. ประเมิน temperature ของทารกและวัดอุณหภูมิตู้ incubator ทุก 4 hr.

6.4. ประเมิน vital sign ทุก 2-4 hr.

6.5. ประเมินภาวะขาดน้ำ

6.6. ดูแลให้ได้รับสารน้ำหรือนมอย่างเพียงพอ

6.7. ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eye shield)

6.8. พลิกตัวทารกทุก 2-4 ชม. และทำความสะอาดผิวหนังของเด็กทารก

6.9. ห้ามทาโลชั่นหรือครีมใดๆบนผิวหนังของทารก

6.10. ตรวจหาหรือติดตามผลระดับของบิลิรูบินในกระแสเลือดทุก 12 ชั่วโมง