Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Hepatitis B by Mind Map: Hepatitis B

1. HBIG

2. พบได้ทั้งเฉียบพลัน เรื้อรัง พาหะ

3. สาเหตุ

3.1. เกิดจากเชื้อไวรัสตับอักเสบบี

3.2. HBsAg

3.2.1. พบหลังรับเชื้อมาแล้ว 2 wk.

3.2.1.1. เกิน 6 mo. ยังพบ= เรื้อรัง

3.3. HBeAg

4. ความหมาย

4.1. ไวรัสตับอักเสบบีเป็นสาเหตุของโรคตับอักเสบฉับพลันและเรื้อรัง

4.2. เสี่ยงเป็นตับแข็งและมะเร็งตับ

5. วิธีการติดต่อ

5.1. การใช้เข็มร่วมกัน

5.2. สิ่งคัดหลั่ง

5.3. ทางเพศสัมพันธ์

5.4. ถ่ายทอดจากมารดาสู่ทารก

5.4.1. ติดเชื้อผ่านทางรก พบได้น้อยมาก

5.4.2. ติดเชื้อในขณะคลอด

5.4.2.1. ทารกกลืนเลือด น้ำคร่ำ หรือสารคัดหลั่งจากมารดา

5.4.3. ติดเชื้อในระยะหลังคลอด

5.4.3.1. ได้รับเชื้อจากมารดาในระหว่างการเลี้ยงดู

6. พยาธิสรีรภาพ

6.1. เมื่อติดเชื้อ ร่างกายสร้างภูมิต้านทาน

6.1.1. กำจัดเชื้อและทำให้เซลล์ตับถูกทำลายด้วย

6.1.2. ทำลายมากจะทำให้เกิดตับวายได้

7. การรักษา

7.1. มารดา

7.1.1. ผู้ป่วยที่เป็นพาหะ

7.1.1.1. ภูมิคุ้มกันไม่สามารถทำลายเชื้อได้

7.1.2. มีข้อบ่งชี้

7.1.2.1. ให้ใช้ยาต้านไวรัสที่อยู่ใน Class B ได้แก่ Tenofovir หรือ telbivudine เพื่อลดการติดเชื้อในเด็กแรกเกิด

7.1.3. ถ้าไม่มีข้อบ่งชี้ แต่ปริมาณ HBV DNA ในเลือดมากกว่า 2,000,000 IU/ml

7.1.3.1. ให้รับประทาน Telbivudine หรือ Tenofovir เมื่ออายุครรภ์ 24 – 32 wk. จนถึงคลอด

7.2. ทารก

7.2.1. เด็กทารกแรกเกิดทุกรายต้องได้รับการฉีดวัคซีนไวรัสตับอักเสบบี และ Hepatitis B Immune Globulin(HBIG)

8. การป้องกัน

8.1. Passive immunization

8.2. Active immunization

8.3. Passive + Active

9. แนะนำการปฏิบัติตน

10. ลักษณะทางคลินิก

10.1. ตับอักเสบแบบเฉียบพลัน (2-6เดือน)

10.1.1. มีไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย มีตาตัวเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม

10.2. ตับอักเสบกึ่งเฉียบพลัน

10.2.1. มี Hepatic encephalopathy มีอาการตับล้มเหลว

10.3. ตับอักเสบเรื้อรัง

10.3.1. พาหะเรื้อรัง: พบไวรัส HBsAg สามารถแพร่เชื้อได้

10.3.2. ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์

10.3.2.1. Acute hepatitis B in pregnancy

10.3.2.1.1. มารดาที่ตั้งครรภ์ในไตรมาส 3 ทารกจะมีโอกาสได้รับเชื้อมากกว่ามารดาไตรมาส 1,2

10.3.2.2. Hepatitis B carrier in pregnancy

10.3.2.2.1. ทารกมีโอกาสได้รับเชื้อสูง

10.3.3. ตับอักเสบเรื้อรังแบบทรงตัว: ตับโตเล็กน้อย มีอาการเหลืองนานกว่า 2 เดือน SGOT & SGPT

10.3.4. ตับอักเสบเรื้อรังชนิดดำเนินต่อไป: มีอาการดีซ่านนาน พบตับม้ามโต

11. การวินิจฉัยโรค

11.1. อาการทางคลินิก

11.2. lab

11.2.1. LFT

11.2.1.1. SGOT, SGPT, bilirubin

11.2.2. marker

11.2.2.1. HBsAg, anti-HBs, anti-HBc, HBeAg, anti-HBe

12. ผลการตั้งครรภ์ต่อโรค

12.1. ไม่มีผลทำให้โรครุนแรงขึ้น

12.2. แต่ถ้ามีภาวะทุพโภชนาการร่วม

12.2.1. ทำให้เกิดภาวะตับวายได้

13. การพยาบาล

13.1. ระยะตั้งครรภ์

13.1.1. ให้ความรู้

13.1.2. ประเมินผลเลือด

13.2. ระยะคลอด

13.2.1. Bed rest

13.2.2. ระวังการเกิดแลบนผิวทารก

13.2.3. ตัดสายสะดือ,ทำความสะอาดทารกโดยเร็ว

13.2.4. ตรวจพบพบ HBeAG ให้วัคซีน HBIG หลังคลอดเร็วที่สุดใน 12-48 hr.

13.3. ระยะหลังคลอด

13.3.1. Universal precaution

13.3.2. ประเมินBleeding, Infection, Pain

13.3.3. Breast feeding *ถ้ามารดาหัวนมแตกให้งด BF

13.3.4. แนะนำการปฏิบัติตัว การสังเกตอาการผิดปกติ การดูแลทารก