ระบบคอมพิวเตอร์

Jetzt loslegen. Gratis!
oder registrieren mit Ihrer E-Mail-Adresse
ระบบคอมพิวเตอร์ von Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. 1.องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

1.1.  ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

1.2.  ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

1.3.  บุคลากร คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

2. 4. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1. 4.1.1 เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาด เล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น ระบบ คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพจนสามารถตอบสนองความ ต้องการได้ในราคาที่ถูกลง ค่าบ ารุงรักษาต่ า การใช้งานสะดวกขึ้นและมีซอฟต์แวร์ส าเร็จรูปให้เลือกใช้งาน จ านวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆ

2.2. 4.1.2 การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อน ามาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบ งานในอนาคต เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก สิ่งที่ควรพิจารณา ในการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน

2.3. 4.2 การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเลือกโปรแกรมส าหรับคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบ คอมพิวเตอร์และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะ ของงาน

3. 2.คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

3.1. 2.1 หน่วยรับข้อมูล อุปกรณ์รับเข้ามีหลายประเภท แต่ละประเภทมีวิธีการในการน าเข้าข้อมูลที่ต่างกัน สามารถแบ่ง ประเภทของอุปกรณ์รับเข้าตามลักษณะการรับข้อมูลเข้าได้ดังนี้

3.1.1. 2.1.1 อุปกรณ์รับเข้าแบบกด

3.1.1.1. 1) แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ส าหรับน าเข้าข้อมูลขั้นพื้นฐานท าหน้าที่เชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบคอมพิวเตอร์

3.1.2. 2.1.2 อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง

3.1.2.1. 1) เมาส์(Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังต าแหน่ง ต่าง ๆ บนจอภาพ

3.1.2.2. 2) อุปกรณ์ชี้ต าแหน่งส าหรับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก มีการคิดค้นอุปกรณ์ที่จะท าหน้าที่แทน เมาส์ โดยออกแบบให้สามารถติดอยู่กับตัวเครื่องได้เลย สะดวกในการพกพาและให้พื้นที่ในการท างานน้อย ใน ปัจจุบันเรามีอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่และมีคุณสมบัติดังที่กล่าวมาอยู่3 ชนิด ได้แก่

3.1.2.2.1. ก) ลูกกลมควบคุม(Track ball) มีลักษณะเป็นลูกบอลกลมอยู่ภายในเบ้าบริเวณแผงแป้น อักขระของเครื่องคอมพิวเตอร์โน๊คบุ๊ค ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ชนิดนี้ควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนจอภาพ โดยการหมุนลูกกลมไปในทิศทางที่ต้องการ

3.1.2.2.2. ข) แท่งชี้ต าแหน่ง(Track point) มีลักษณะเป็นแท่งพลาสติกที่ส่วนยอดหุ้มด้วยยางโผล่ขึ้นมา ตรงกลางแผงแป้นอักขระของเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก สามารถใช้อุปกรณ์ชนิดนี้ควบคุมการเคลื่อนที่ของตัว ชี้บนจอภาพโดยการโยกแท่งชี้ควบคุมไปในทิศทางที่ต้องการ

3.1.2.2.3. ค) แผ่นรองสัมผัส(Touch pad) เป็นแผ่นพลาสติกที่ไวต่อการสัมผัสอยู่ตรงแผงแป้นอักขระ ของเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก ผู้ใช้สามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนจอภาพโดยการแตะสัมผัสไปบน แผ่นรองสัมผัสและสามารถคลิกหรือดับเบิ้ลคลิกเพื่อเลือกรายการหรือสัญรูปได้

3.1.2.2.4. 3) ก้านควบคุม(Joystick) ท าหน้าที่ก าหนดการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนจอภาพโดยลักษณะของก้าน ควบคุมจะคล้ายกล่องที่มีก้านโผล่ออกมาและก้านนั้นสามารถบิดขึ้น ลง ซ้าย ขวาได้การเคลื่อนที่ของก้านเป็น การก าหนดทิศทางการเคลื่อนที่ของตัวชี้ต าแหน่ง

3.1.3. 2.1.3 อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา

3.1.3.1. 1) ปากกาแสง(Light pen) เป็นอุปกรณ์ที่ไวต่อแสงที่สามารถท าหน้าที่เหมือนเมาส์ในการชี้ต าแหน่งบนจอภาพหรือท างาน กับรายการเลือกและสัญรูปเพื่อสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ ปลายข้างหนึ่งของปากกาแสงจะมีสายเชื่อมต่อเข้า กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อมีการแตะปากกาที่จอภาพข้อมูลจะถูกส่งผ่านสายนี้ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ท าให้ สามารถรับรู้ต าแหน่งที่ชี้และกระท าตามค าสั่งได้

3.1.3.2. 2) เครื่องอ่านพิกัด(Digitizing tablet) หรือ แผ่นระนาบกราฟิก(graphic tablet) เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่มีส่วนประกอบ2 ชิ้น ได้แก่ กระดานแบบสี่เหลี่ยมที่มีเส้นแบ่งเป็นตาราง ของเส้นลวดที่ไวต่อสัมผัสสูง และปากกาที่ท าหน้าที่เป็นตัวชี้ต าแหน่งหรือวาดรูปบนกระดาษข้างต้น คอมพิวเตอร์สามารถรับรู้ต าแหน่งของกระดานที่มีการสัมผัสหรือวาดเส้นและเส้นที่วาดจะแสดงบนจอภาพได้

3.1.4. 2.1.4 อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัสจอสัมผัส(Touch screen) เป็นจอภาพที่เคลือบสารพิเศษไว้ท าให้สามารถรับต าแหน่งของการ สัมผัสด้วยมือมนุษย์ได้ทันที ผู้ใช้เพียงแตะปลายนิ้วลงบนจอภาพในต าแหน่งที่ก าหนดไว้เพื่อเลือกการท างานที่ ต้องการ ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะเป็นตัวค้นหาว่าผู้ใช้เลือกทางเลือกใดและท างานให้ตามนั้น

3.1.5. 2.1.5 อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ

3.1.5.1. 1) เครื่องอ่านรหัสแท่ง(Barcode Reader) การท างานของเครื่องใช้หลักการของการสะท้อนแสง โดยเครื่องอ่านจะส่องล าแสงไปยังรหัสแท่งที่อยู่บนสินค้า แล้วแปลงรหัสที่อ่านได้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งผ่านสาย ที่เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ชิ้นนี้โดยเฉพาะน าไป ประมวลผล

3.1.5.2. 2) เครื่องกราดตรวจ(Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถน าเข้าข้อมูลที่เป็นรูปภาพหรือข้อความที่ อยู่บนสิ่งพิมพ์ได้โดยใช้หลักการสะท้อนแสง ข้อมูลที่รับเข้าจะเป็นรูปภาพที่ได้รับการแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและตีความได้ การพิจารณาคุณภาพของสแกนเนอร์จะพิจารณาจากความ ละเอียดของภาพซึ่งมีหน่วยเป็นจุดต่อนิ้ว(dot per inch: dpi) ภาพที่มีจ านวนจุดต่อนิ้วมากจะมีความละเอียด สูงซึ่งจะเหมือนรูปจริงมาก

3.1.5.3. 3) กล้องถ่ายภาพดิจิทัล (Digital camera) เป็นกล้องถ่ายภาพที่เก็บภาพเป็นข้อมูลดิจิตอลและ สามารถน าภาพที่เป็นข้อมูลดิจิตอลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้

3.1.6. 2.1.6 อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณเสียงที่มนุษย์พูดและแปลงเป็น สัญญาณดิจิตอลเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ สั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานทางเสียงแทนที่จะใช้แป้นพิมพ์

3.2. 2.2 หน่วยประมวลผลกลาง หน่ ว ยป ร ะ ม ว ล ผ ล กล าง ( Central Processing Unit : CPU) ห รือไ มโ ค รโพ รเ ซ ส เ ซอ ร์ ของ ไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่น าค าสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจ ามาแปลความหมายและกระท าตาม ค าสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ซึ่งแทนได้ด้วยรหัสเลขฐานสอง

3.2.1. 1) หน่วยควบคุม(Control Unit : CU) ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูล ระหว่างหน่วยความจ าของซีพียูควบคุมกลไกการท างานทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณ นาฬิกาเป็นตัวก าหนดจังหวะการท างาน

3.2.2. 2) หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU) ท าหน้าที่ค านวณทางเลขคณิต ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อท าการตัดสินใจ การท างานของหน่วยนี้จะรับ ข้อมูลจากหน่วยความจ ามาไว้ในที่เก็บชั่วคราวของเอแอลยูซึ่งเรียกว่าregister เพื่อท าการค านวณแล้วส่งผล ลัพธ์กลับไปยังหน่วยความจ า ทั้งนี้ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ข้อมูลและค าสั่งจะอยู่ในรูปของ สัญญาณไฟฟ้าแล้วส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านระบบส่งถ่ายข้อมูลภายในเรียกว่าบัส(bus)

4. 3. ซอฟต์แวร์

4.1. 3.1ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละ ยุคประกอบด้วย

4.1.1. 3.1.1 ภาษาเครื่อง (Machine Languages)

4.1.2. 3.1.2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages)

4.1.3. 3.1.3 ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)

4.1.4. 3.1.4 ภาษายุคที่4 (Fourth-Generation Languages: 4GL)

4.1.5. 3.1.5 ภาษาเชิงวัตถุ(Object-Oriented Languages)

4.2. 3.2 ประเภทของซอฟต์แวร์

4.2.1. 3.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์

4.2.1.1. 1.) ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส(Disk Operating System: DOS) วินโดวส์(Windows) โอเอสทู(OS/2) ยูนิกซ์(UNIX)

4.2.1.2. 2.) ตัวแปลภาษา(Translator Program) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จ าเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง

4.2.2. 3.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถ น ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง

4.2.2.1. 1) ซอฟต์แวร์ส าเร็จ ซอฟต์แวร์ส าเร็จ(Package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความนิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์ส าเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้นแล้วน าออกมาจ าหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งานซื้อไปใช้ได้โดยตรง

4.2.2.2. 2) ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ คือ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะส าหรับงานแต่ละประเภทให้ตรง กับความต้องการของผู้ใช้แต่ละราย ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษา 24 รูปแบบการท างานหรือความต้องการของธุรกิจนั้น ๆ แล้วจัดท าขึ้น เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัด จ าหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม บริหารการเงิน และการเช่าซื้อ