คณะสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร ตรัง

Jetzt loslegen. Gratis!
oder registrieren mit Ihrer E-Mail-Adresse
คณะสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร ตรัง von Mind Map: คณะสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร ตรัง

1. ผลการทดสอบ ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT2 รหัสวิชา 72) 30% 3000คะแนน

2. หลักสูตรที่ศึกษาเป็นหลักสูตรการศึกษาในระบบโรงเรียน

2.1. วิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต

2.2. คณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต

2.3. ภาษาอังกฤษ ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต

3. การกำหนดภูมิลำเนาที่ใช้ในการสมัคร

3.1. ผู้สมัคร ไม่น้อยกว่า 1 ปี 

3.2. บิดาของผู้สมัคร ไม่น้อยกว่า 5 ปี 

3.3. มารดาของผู้สมัคร ไม่น้อยกว่า 5 ปี 

3.4. ผู้ปกครองโดยชอบธรรมตามกฎหมาย1 ของผู้สมัคร ไม่น้อยกว่า 5 ปี

4. คุณสมบัติทั่วไป

4.1. ไม่มีสถานะเป็นข้าราชการ

4.1.1. เป็นผู้ที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 16 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 35 ปีบริบูรณ์ 

4.2. การกำหนดอายุของผู้สมัคร

4.3. การกำหนดด้านสุขภาพของผู้สมัคร

4.3.1. เป็นผู้ที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจสมบูรณ์

4.3.2.  มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม

4.3.3. ไม่มีความพิการ หรือผิดปกติทางด้านร่างกายและจิตใจ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา และการประกอบวิชาชีพ

4.4. การกำหนดความประพฤติของผู้สมัคร

4.4.1. เป็นผู้มีความประพฤติดี ไม่เคยมีชื่อเสียงเสียหาย ไม่เคยต้องโทษในคดีอาญา

5. คุณสมบัติด้านการศึกษา

5.1. การกำหนดวุฒิการศึกษาของผู้สมัคร

5.1.1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีรายวิชาครบตามเกณฑ์ที่กำหนด

5.2. การกำหนดผลการทดสอบ จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

5.2.1. มีผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติครบถ้วนสมบูรณ์ และไม่หมดอายุ

5.2.1.1. ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน

5.2.1.2. ผลการทดสอบความถนัดทั่วไป

5.2.1.3. ผลการทดสอบความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการด้านวิทยาศาสตร์

6. องค์ประกอบการประมวลผลคัดเลือก

6.1. กำหนดคะแนนสำหรับการประมวลผลคัดเลือก

6.1.1. ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) แบบไม่ถ่วงน้ำหนัก O-NET

6.1.2. ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 5 รายวิชา ได้แก่ ภาษาไทย สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์

6.1.3. ผลการทดสอบความถนัดทั่วไป (GAT)

6.1.4. ผลการทดสอบความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ (PAT2)

6.2. องค์ประกอบและสัดส่วนน้ำหนักคะแนนในการประมวลผลการคัดเลือก ดังนี้

6.2.1. ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) 20% 2000คะแนน

6.2.2. ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 30% 3000คะแนน

6.2.3. ผลการทดสอบความถนัดทั่วไป (GAT รหัสวิชา 85) 20% 2000คะแนน

7. การคำนวณคะแนน

7.1. คะแนนรวม [10,000 คะแนน] = (GPAXx500)+(O-NETx30/5)+(GATx20/3)+(PAT2x30/3)

8. วัณโรคปอดในระยะติดต่อเรื้อรัง หรือโรคติดต่อในระยะอันตรายที่จะมีผลต่อผู้รับบริการ หรือส่งผลให้เกิดความพิการอย่างถาวร อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา

9. โรคเบาหวาน ซึ่งคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการตรวจร่างกายเห็นว่ามีแนวโน้มเกิดอันตราย

10. คุณสมบัติด้านสุขภาพ

10.1. จะต้องไม่เป็นผู้ทุพพลภาพ และไม่เป็นโรคประจำตัว ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา

10.1.1. โรคหัวใจที่มีสภาพหัวใจ ทั้งชนิดเป็นมาแต่กำเนิดและมาเป็นภายหลัง จนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา

10.1.2. มีความผิดปกติในการเห็นภาพ โดยมีอย่างน้อยข้อใดข้อหนึ่ง

10.1.2.1. ตาบอดแม้แต่ข้างเดียว

10.1.2.2. ตาบอดสี โดยเฉพาะแม่สีหรือตาบอดสีชนิดรุนแรง ซึ่งได้รับการตรวจอย่างละเอียดแล้ว

10.1.2.3. ระดับการมองเห็นในตาข้างใดข้างหนึ่ง เมื่อรักษาโดยใช้แว่นแล้ว ยังมีสายตาต่ำกว่า 6/12 หรือ 20/40

10.1.2.4. ตาพิการ หรือมีความผิดปกติ เช่น ตาเหล่

10.1.3. หูหนวก ชนิดที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ หรือหูตึงที่ใช้เครื่องช่วยฟัง

10.1.4. โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการตรวจร่างกายเห็นว่ามีแนวโน้มเกิดอันตราย

10.1.5. เสพสารเสพติดทุกชนิด และโรคพิษสุราเรื้อรัง

10.1.6. โรคไตที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้

10.1.7. มีความผิดปกติทางจิตซึ่งควรได้รับการบำบัดรักษา หรือมีสุขภาพจิตไม่สมบูรณ์ ซึ่งคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการตรวจร่างกายเห็นว่า เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา

10.1.8. โรคและอาการอื่นๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานทางการพยาบาลและสาธารณสุข

10.1.8.1. ร่างกายต้องไม่ผิดรูป หรือพิการจนเสียบุคลิกลักษณะ

10.1.8.2. กระดูก หรือกล้ามเนื้อบางส่วนมีความพิการที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการเคลื่อนไหวของร่างกาย

10.1.8.3. โรคเรื้อน หรือโรคผิวหนัง ที่มีความผิดปกติเห็นเด่นชัดจนเสียบุคลิกภาพ

10.1.8.4. โรคเท้าช้าง

10.1.8.5. โรคลมชัก ที่ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ อันจะก่อเกิดอันตรายต่อตนเอง และผู้อื่น เว้นแต่โรคลมชักที่ไม่มีอาการชักมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี โดยมีการรับรองจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หรือเป็นโรคลมชักที่ควบคุมได้

11. ลิ้งค์ระเบียบการ