Moving Forward in a Digital Society with ICT

Jetzt loslegen. Gratis!
oder registrieren mit Ihrer E-Mail-Adresse
Moving Forward in a Digital Society with ICT von Mind Map: Moving Forward in a Digital Society with ICT

1. แกดเจ็ต

1.1. อุปกรณ์ใน Real World

1.1.1. Gadget หมายถึงเครื่องมือขนาดเล็ก ที่มีความทันสมัยแปลกใหม่ มีฟังก์ชันการใช้งานเฉพาะอย่าง

1.1.2. ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นเครื่องมือที่ช่วยเสริมการทำงานของอุปกรณ์หลัก อาจจะใช้หรือไม่ใช้ไฟฟ้าก็ได้

1.1.3. บางครั้งแกดเจ็ตมักจะถูกเรียกแทนว่า “กิซมอส” (Gizmos)

1.2. Gadget คืออะไร

1.2.1. แอปพลิเคชันแกดเจ็ต คือซอฟต์แวร์ขนาดเล็ก ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือในการดำเนินการต่าง ๆ

1.2.2. บางครั้งเรียกว่า วิดเจ็ต (Widget)

1.2.3. แนวคิดการสร้างเกิดจากการใช้งานซอฟต์แวร์บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต ที่ต้องการผู้ช่วยในการแจ้งเตือนข้อมูล

1.3. Application gadgets

1.4. Hardware Gadgets

1.5. แนวคิดการใช้แกดเจ็ตในชีวิตประจำวัน

1.5.1. เหมาะสมกับโอกาสและสถานการณ์

1.5.2. ปัญหาของการใช้โปรศัพท์มือถือในปัจจุบัน

1.5.3. โรคติดมือถือ

2. โมเดิร์น OS

2.1. ความหมายของซอฟต์แวร์

2.2. ประเภทของซอฟต์แวร์

2.2.1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System software)

2.2.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software)

2.3. ระบบปฏิบัติการ

2.3.1. เป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมจัดการฮาร์ดแวร์

2.3.2. ทำหน้าที่ในการเชื่อมการทำงานระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์

2.3.3. จัดการกระบวนการใช้ทรัพยากรระหว่างซอฟต์แวร์ประยุกต์และฮาร์ดแวร์

2.3.4. เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับฮาร์ดแวร์

2.4. การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการให้เหมาะสม

2.4.1. ประเด็นต่าง ๆ ที่ควรคำนึงถึงก่อนเลือกระบบปฏิบัติการ

2.4.1.1. เราเคยใช้ระบบปฏิบัติการมาบ้างหรือไม่ ?

2.4.1.2. เราจะใช้ซอฟต์แวร์อะไรบนระบบปฏิบัติการ ?

2.4.1.3. สังเกตเพื่อนร่วมงาน ครอบครัว หรือ เพื่อนที่โรงเรียนใช้อะไร ?

2.4.1.4. เราต้องการระดับความปลอดภัยระดับใด ?

2.4.1.5. เรามีงบประมาณเท่าไร ?

2.5. โปรแกรมอรรถประโยชน์

2.5.1. ประเภทการจัดแฟ้มข้อมูล (File Manager)

2.5.2. ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstall)

2.5.3. โปรแกรมจัดการดิสก์ (Disk Utility)

2.5.4. โปรแกรมรักษาหน้าจอ (Screen Saver)

2.5.5. โปรแกรมป้องกันไวรัส

2.5.6. โปรแกรมบีบอัดแฟ้ม

3. โมเดิร์นแอพ

3.1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์พื้นฐาน

3.1.1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์อเนกประสงค์ (General-purpose application)

3.1.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ช่วยเพิ่มผลผลิต (Productivity application)

3.2. ลิขสิทธิ์ และใบอนุญาตซอฟต์แวร์

3.2.1. ลิขสิทธิ์

3.2.2. ใบอนุญาตซอฟต์แวร์

3.3. ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แบ่งตามลักษณะการคุ้มครอง

3.3.1. ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ หรือ “License software”

3.3.2. แชร์แวร์ Shareware

3.3.3. Ad ware

3.3.4. ฟรีแวร์ (freeware)

3.3.5. ฟรีแวร์ (freeware)

3.4. ความเป็นมาของการพัฒนาซอฟต์แวร์เสรี

3.5. ความสำคัญของ Open Source

3.6. ข้อดี ข้อเสียของ Open Source

3.6.1. ข้อดีของ Open Source

3.6.1.1. ติดตั้งได้ไม่จำกัด มี source code ที่เปิดเผย สามารถก็อปปี้และเผยแพร่ได้ ปรับปรุงให้ตรงความต้องการได้ มีผู้ให้บริการหลายราย (เพราะนักพัฒนาซอฟต์แวร์มี code ต้นแบบ) นิยมมาตรฐานเปิด (Open standard) มีชุมชนให้ความช่วยเหลือมาก ใช้ทรัพยากรของเครื่องน้อย

3.6.2. ข้อเสียของ Open Source

3.6.2.1. การใช้โอเพนซอร์ส ต้องขยันหมั่นอัพเดทอยู่เสมอ ๆ

3.7. ข้อควรคำนึงถึงเมื่อเลือกซื้อ หรือเลือกใช้ซอฟแวร์

3.8. จริยธรรมในการใช้ซอฟต์แวร์

3.8.1. ในการติดตั้งซอฟต์แวร์จะต้องคำนึงถึง วัตถุประสงค์ในการใช้งาน เรามีสิทธิ์ติดตั้งและใช้งานซอฟต์แวร์เหล่านั้นได้หรือไม่ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ เนื่องจากซอฟต์แวร์ที่ใช้อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

4. เทคโนโลยีล้ำ ๆ รอบตัวเรา

4.1. เทคโนโลยีรอบตัวเรา

4.2. ประโยชน์และโทษของเทคโนโลยี

4.2.1. ตัวอย่างโทษของเทคโนโลยี

4.2.1.1. เปลืองทรัพยากร เช่น ไฟฟ้า

4.2.1.2. ส่งเสริมวัตถุนิยม

4.2.1.3. ขาดการออกกำลังกาย

4.2.1.4. ทำให้เกิดปัญหาการว่างงาน เพราะใช้เครื่องจักรแทนคน

4.2.1.5. มีโลกส่วนตัว ขาดการติดต่อกับผู้อื่น

4.2.1.5.1. เกิดช่องว่างระหว่างผู้สูงอายุกับเด็ก

4.2.2. ตัวอย่างประโยชน์ของเทคโนโลยี

4.2.2.1. ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวกรวดเร็ว

4.2.2.2. มีข้อมูลจำนวนมหาศาลในระบบ เรียกใช้ได้สะดวก

4.2.2.3. ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทาง

4.3. เทคโนโลยีในโลกอนาคตอันใกล้

4.3.1. https://www.youtube.com/watch?v=OptqxagZDfM

5. ไอทีคืออะไร

5.1. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1.1. การประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อนำมาจัดการสารสนเทศที่ต้องการ โดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่

5.2. องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

5.2.1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

5.2.1.1. คอมพิวเตอร์ หมายถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่งที่มีความสามารถในการคำนวณอัตโนมัติตามชุดคำสั่ง

5.2.1.2. กระบวนการทำงาน

5.2.1.2.1. ประมวลผลข้อมูล (process)

5.2.2. เทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม

5.2.2.1. ทำหน้าที่เผยแพร่ แลกเปลี่ยนสารสนเทศไปยังผู้ที่ต้องการในแหล่งต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสถานการณ์

5.2.2.1.1. อดีต การติดต่อสื่อสารโดยการเขียนจดหมายถึงกัน

5.2.2.1.2. ปัจจุบัน มีการใช้งานระบบเครือข่าย เช่น โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร วิทยุ ตลอดจนถึงโทรทัศน์

5.3. ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ

5.3.1. 1. ขนาดเล็ก เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต

5.3.2. 2. ขนาดกลาง เช่น อินเทอร์เน็ต

5.3.3. 3. ขนาดใหญ่ เช่น ระบบเครือข่าย การประชุมทางไกล

5.4. บทบาทของระบบสารสนเทศ

5.4.1. ระบบสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการดำเนินชีวิตของเรา

5.4.2. วิวัฒนาการด้านการสื่อสารโทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์

5.4.3. ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล แบ่งปันข้อมูลได้อย่ารวดเร็ว

5.4.4. สามารถแบ่งตามบทบาทของระบบสารสนเทศได้ดังนี้

5.4.4.1. ระบบสารสนเทศในชีวิตประจำวัน

5.4.4.2. ระบบสารสนเทศในมหาวิทยาลัย

5.4.4.3. ระบบสารสนเทศในภาคธุรกิจ

5.5. แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

5.5.1. ความถูกต้อง (Information Accuracy)

5.6. จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.6.1. ความถูกต้อง (Information Accuracy)

5.6.2. ความเป็นเจ้าของ (Information Property)

5.6.3. การเข้าถึงข้อมูล (DataAccessibility)