Jetzt loslegen. Gratis!
oder registrieren mit Ihrer E-Mail-Adresse
เทคโนโลยีสัมพันธ์ von Mind Map: เทคโนโลยีสัมพันธ์

1. เทคโนโลยีท้องถิ่นและเทคโนโลยีนําเข้า

1.1. 4.1. เทคโนโลยีท้องถิ่น

1.1.1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น

1.1.1.1. เป็นการสะสมองค์ความรู้ขึ้นมาจากประสบการณ์ของชีวิต

1.1.1.2. มีการถ่ายทอดสืบต่อกันมาเป็นวัฒนธรรม

1.1.1.3. ตัวอย่างเช่น งานหัตถกรรมทอผ้า เครื่องเงิน เครื่องเขียน

1.1.2. ความหมาย

1.1.2.1. เป็นเทคโนโลยีดั้งเดิม

1.1.2.2. เกิดจากประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต

1.1.2.3. การต่อสู้กับปรากฏการณ์ธรรมชาติ

1.1.2.4. การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของคนในท้องถิ่น

1.1.3. ระดับของเทคโนโลยีท้องถิ่น

1.1.3.1. เทคโนโลยีระดับต่ำ (Low technology)

1.1.3.1.1. ส่วนมากเป็น เทคโนโลยีที่มีอยู่แต่เดิม ตั้งแต่ยุคโบราณ

1.1.3.1.2. มีการสืบทอดเทคโนโลยีต่อ ๆ กันมาพร้อมกับขนบธรรมเนียม

1.1.3.1.3. ตัวอย่างเช่น ยาสมุนไพรพื้นบ้าน ครกตำข้าว และกระต่ายขูดมะพร้าว

1.1.3.2. เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate technology)

1.1.3.2.1. เกิดจากการปรับปรุงพัฒนา เทคโนโลยี ระดับต่ำ หรือเทคโนโลยีพื้นบ้านขึ้นมา

1.1.3.2.2. พื่อให้ได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีนั้นมากขึ้น

1.1.3.2.3. ตัวอย่างเช่น การปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อแก้ปัญหดินเสื่อม การถนอมอาหาร การสร้างอ่างเก็บน้ำ

1.1.3.3. เทคโนโลยีระดับสูง (High technology)

1.1.3.3.1. เป็นเทคโนโลยีที่ได้จาก ประสบการณ์อันยาวนาน

1.1.3.3.2. มีความสลับซับซ้อนสูง

1.1.3.3.3. จำเป็นต้องอาศัย การศึกษา เรียนรู้ ในสถาบัน การศึกษาชั้นสูง

1.1.3.3.4. มีการวิจัยทดลอง อย่างสม่ำเสมอ

1.1.3.3.5. ละมีการประดิษฐ์คิดค้น เครื่องมือ เครื่องจักรกลต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูง

1.1.3.3.6. ตัวอย่างเช่น การผลิตอาหารกระป๋อง การคัดเลือก พันธุ์สัตว์ โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

1.1.4. ตัวอย่าง

1.1.4.1. ตัวอย่างเช่น เครื่องจักรสาน การทอผ้า ครกตำข้าว ลอบดักปลา และกระต่ายขูดมะพร้าว เป็นต้น

1.2. 4.2. เทคโนโลยีนำเข้า

1.2.1. ความหมาย.

1.2.1.1. เป็นเทคโนโลยีที่นำเข้ามาจากต่างปะเทศ

1.2.1.2. เพื่อนำมาพัฒนา ปรับปรุง ให้เหมาะสม กับสภาพสิ่งแวดล้อม การดำเนินชีวิต และวัฒนธรรม ของสังคมไทย

1.2.1.3. สาเหตุการนำเข้าคือ เทดโนโลยีของประเทศไมทยนั้นยังอยู่ในระดับตำ่หากเทียบกับประเทศที่พัฒนาเเล้ว

1.2.2. ตัวอย่าง

1.2.2.1. เทคโนโลยีการเกษตร

1.2.2.1.1. สารเคมีป้องกันกำจัด ศัตรูพืช การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน

1.2.2.1.2. นำเข้า เทคโนโลยี ในการเก็บรักษา คุณภาพ ผลิตผลทางการเกษตร เพื่อการส่งออก

1.2.2.1.3. เครื่องจักรกล ที่ทันสมัย มาช่วยทุ่นแรงในการ ทำไร่นา

1.2.2.2. เทคโนโลยีชีวภาพ

1.2.2.2.1. ส่วนใหญ่จะเป็นทางด้านการแพทย์ เช่น การผลิตวัคซีน ป้องกันโรคต่าง ๆ การผลิตยาบางชนิด

1.2.2.3. เทคโนโลยีการสื่อสาร

1.2.2.3.1. โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์

1.2.2.4. เทคโนโลยีการขนส่ง

1.2.2.4.1. รถยนต์ รถไฟ รถไฟฟ้าการเดินเรือ เครื่องบิน การขนส่งระบบคอนเทนเนอร์

2. เทคโนโลยีคือ?

2.1. ตัวอย่าง

2.1.1. 1.การทำระบบตู้ ATM เพื่อตอบสนองความต้องการใช้อย่างรวดเร็ว

2.1.2. 2.การลงทะเบียน เพื่อความสะดวกในการสมัคร

2.1.3. 3.การทำธุระกิจทาง อินเตอร์เน็ต

2.1.4. 4.การใช้งานอินเตอร์เน็ตระบบมือถือ (Wap)

2.1.5. 5.การประชุมทางไกล VDO Call

2.2. ความหมาย

2.2.1. วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม

2.2.2. ความหมายเทคโนโลยี ตาม พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน

2.2.3. การใช้ความรู้เครื่องมือความคิดหลักการระเบียบวิธีมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดี ยิ่ง ขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น

2.3. ประเภท

2.3.1. เทคโนโลยีการศึกษา

2.3.1.1. เทคโนโลยีการศึกษา เน้นเรื่อง วิธีการ ระบบ และเครื่องมือ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน

2.3.2. เทคโนโลยีทอผ้า

2.3.2.1. ช่วยไห้การทอผ้าสดวกและรวดเร็วมากขึ้นและถูกต้องไม่ผิดพลาด

2.3.3. เทคโนโลยีสารสนเทศ

2.3.3.1. การประยุกต์เอาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ไห้เกิดประโยชน์

2.3.4. เทคโนโลยีการเกษตร

2.3.4.1. ความรู้ วิทยาการ เทคนิค วิธีการ เครื่องจักรกลการเกษตรที่เกษตรกรนำมาใช้ปรับปรุงหรือเพิ่มผลผลิตในการเกษตร

2.3.5. เทคโนโลยีอาหาร

2.3.5.1. เป็นสาขาวิชาที่ประยุกต์มาจากวิทยาศาสตร์การอาหาร มีเนื้อหาเกี่ยวกับการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์ การจัดจำหน่ายอาหาร

3. ความสัมพันธ์และบทบาทของเทคโนโลยี

3.1. ด้านการดำรงชีวิตประจำวัน

3.1.1. ปัจจุบันนี้เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตเพราะวิวัฒนาการเหล่านั้นแทรกซึมอยู่ในทุกตารางการใช้ชีวิตของมนุษย์ เพราะมนุษย์มีการพัฒนาคิดค้นสิ่งอำนวยความสะดวกสบายต่อการดำรงชีวิตเป็นอันมาก เช่น มนุษย์ใช้โทรศัพท์ในการสื่อสาร และในปัจจุบันการสื่อสารก็สามารถสื่อถึงกันได้อย่างกว้างขวาง หรือจะเป็นการคมนาคม มนุษย์ก็สร้างสิ่งอำนวยความสะดวกไว้มาก ทำให้เราสามารถเดินทางได้สะดวก รวดเร็ว

3.1.1.1. การใช้โทรศัพท์มือถือในการติดต่อหรือค้นหาสิ่งที่ต้องการ

3.2. ด้านการพัฒนาประเทศ

3.2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศและเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข เทคโนโลยีสามารถช่วยพัฒนาประเทศให้มีความเจริญได้ทุกด้าน

3.2.1.1. ใช้เครื่องมือในการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก

3.3. ด้านสิ่งแวดล้อม

3.3.1. เทคโนโลยีช่วยให้มนุษย์มีความสามารถมากขึ้น โดยเฉพาะความสามารถในการเอาชนะธรรมชาติ เพื่อให้มี ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยเฉพาะเทคโนโลยี ช่วยให้มนุษย์สามารถทำงานได้มากขึ้น เดินทางได้รวดเร็วขึ้น เทคโนโลยีที่สร้างขึ้นสามารถช่วยมนุษย์ได้มากมาย แต่ว่าสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นก็สร้างปัญหาได้มากมายเช่นกัน เช่น ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลายจนเสียสมดุลธรรมชาติ การเกิดภาวะมลพิษต่างๆขึ้น ดังนั้นเราควรที่จะใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ที่สุด และใช้ในการอนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติไปพร้อมๆกัน

3.3.1.1. กังหันน้ำช่วยเพิ่มออกซิเจนในน้ำ

4. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

4.1. 3.1 วิทยาศาสตร์

4.1.1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกันมาโดยตลอด เรียกสั้นๆว่า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพราะมนุษย์ใช้สร้างวิทยาการใหม่ๆโดยตลอด และเพิ่มความสะดวกสบายให้แก่มนุษยชาติ อีกทั้งยังช่วยให้มนุษย์มีความเจริญก้าวหน้าในศาสตร์เกือบทุกแขนง

4.1.1.1. การใช้กล้องจุลทรรศน์

4.1.1.2. การโคลนนิ่ง

4.1.1.3. การสร้างยานอวกาศ

4.2. 3.2 เกษตรศาสตร์

4.2.1. เกษตรศาสตร์เป็นศาสตร์อีกแขนงหนึ่งที่มีเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายของมนุษย์ในการทำเกษตรกรรมและช่วยในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีในการช่วยวิเคราะห์และเพาะปลูก

4.2.1.1. การทำเรือนกระจกHi-Tec

4.2.1.2. การใช้รถไถนาHi-Tec

4.2.1.3. การเพาะปลูกโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการคำนวน

4.3. 3.3 ศึกษาศาสตร์

4.3.1. ในยุคปัจจุบันนี้เทคโนโลยีก็มีส่วนเกี่ยวข้องในการศึกษาเป็นอย่างมาก เพราะสามารถใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าหาข้อมูลหรือในในการทำวิจัยต่างๆได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพและอีกทั้งเกี่ยวเนื่องไปยังการศึกษาศาสตร์แขนงอื่นๆอีกด้วย

4.3.1.1. การวิจัย/ศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์

4.3.1.2. การวิจัยข้อมูลโภชนาการ

4.3.1.3. การศึกษาเรื่องสิ่งแวดล้อม

4.4. 3.4 โภชนาศาสตร์

4.4.1. ในด้านโภชนาศาสตร์เทคโนโลยก็มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อเพิ่มความสามารถและขีดจำกัดในการศึกษาและวิจัยด้านโภชนาการ รวมถึงการคิดค้นอาหารใหม่ๆที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพและการทดลองหาสารสกัดที่มีประโยชน์

4.4.1.1. การศึกษาอาหารเพื่อให้ได้ข้อมูลทางโภชนาการ

4.4.1.2. การวิจัยอาหารที่มีผลต่อสุขภาพ

4.5. 3.5 แพทยศาสตร์

4.5.1. เทคโนโลยีและการแพทย์เป็นสิ่งที่คู่กันมาตลอดมนุษยชาติเช่นเดียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเทคโนโลยีจะช่วยเพิ่มความก้าวหน้าทางการแพทย์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและปรพสิทธิผลในการรักษามนุษย์

4.5.1.1. การใช้หุ่นยนต์ผ่าตัด

4.5.1.2. การรักษามะเร็งโดยฉายรังสี

4.5.1.3. การรักษาโรคต่างๆด้วยหุ่นยนต์นาโน

4.6. 3.6 พลังงานและสิ่งแวดล้อม

4.6.1. เทคโนโลยีเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้ในการช่วยเหลือวิถีของมนุษยชาติในยุคโลกาภิวัตน์ เพราะเทคโนโลเป็นสิ่งที่พลักดันความสามารถในด้านต่างๆเพื่อช่วยมนุษย์และมนุษย์ก็จะช่วยเหลือสิ่งแวดล้อมดั่งที่มนุษย์ในยุตปัจจุบันพยายามค้นคว้าหาแหล่งพลังงานใหม่ๆที่สะอาดกว่าก่อนหรือการใช้เทคโนโลยีในการตรวจสอบภาวะโลกร้อน เพื่อช่วยให้โลกยังสามารถมีชีวิตอยู่ได้

4.6.1.1. การหาแหล่งพลังงานสะอาด

4.6.1.2. การวิจัยภาวะโลกร้อน

4.6.1.3. การวิจัยสิ่งแวดล้อม

5. เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ

5.1. 1.เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศและเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

5.1.1. ปัจจุบันนี้เทคโนโลยีได้มีบทบาทมากขึ้นเป็นอย่างมากโดยเฉพาะในชีวิตประจำวันของเราก็ได้มีการนำเอาเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาแก้ปัญหาในส่วนต่างๆไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสาร การค้าขาย ความปลอดภัย และอื่นๆอีกมากมายและยังสามารถที่จะใช้ในการพัฒนาประเทศโดยการเป็นเครื่องมือเพื่อเข้าถึงในส่วนต่างๆของประเทศได้ง่ายยิ่งขึ้น ได้แก่

5.2. 2.เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านด้านสังคม

5.2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้ เช่นโรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลผู้ต้องขัง และคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY(Digital Accessible Information System)

5.3. 3.เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านศึกษา แนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาไว้ 5 ประเด็น คือ

5.3.1. 3.1.การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)

5.3.1.1. มีหลายรูปแบบเช่น Drill and Practice, Linear Program , Branching Program, Simulation, Game, Multimedia, Intelligence CAI

5.3.2. 3.2.การศึกษาทางไกล (Distance Learning)

5.3.2.1. ซึ่งจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้วิทยุ โทรทัศน์

5.3.2.2. การสื่อสารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม (Direct to Home : DTH) หรือระบบการประชุมทางไกล (Video Teleconference)

5.3.3. 3.3.เครือข่ายการศึกษา(Education Network)

5.3.3.1. ซึ่งเป็นการนำเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ ซึ่งมีบริการในหลายรูปแบบ เช่น Electronic Mail , File Transfer Protocol, Telnet , World Wide Web เป็นต้น

5.3.3.2. เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์จะสามารถให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มีจำนวนมากมายที่เชื่อมโยงในเครือข่ายทั่วโลก

5.3.4. 3.4.การใช้งานในห้องสมุด (Electronic Library)

5.3.4.1. เป็นการประยุกต์ใช้ในการสืบค้นข้อมูลหนังสือ วารสาร หรือบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ผลงานการวิจัย

5.3.5. 3.5.การใช้งานในห้องปฏิบัติการ

5.3.5.1. เช่น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจำลองสถานการณ์ (Simulation)

5.3.5.2. การใช้ในงานประจำและงานบริหาร (Computer Manage Instruction)

5.3.5.3. เป็นการประยุกต์ใช้ในสำนักงานเพื่อช่วยในการบริหาร จัดการ ทำให้เกิดความคล่องตัว รวดเร็วและแม่นยำ การตัดสินใจในการดำเนินการต่างๆ ย่อมเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

5.4. 4.เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการนำมาใช้ในการพัฒนาด้านสาธารณสุขอย่างกว้างขวาง และทำให้งานด้าน สาธารณสุขเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับระบบการบริหารงาน และนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ ดังนี้

5.4.1. 4.1.ด้านการลงทะเบียนผู้ป่วย ตั้งแต่เริ่มทำบัตร จ่ายยาเก็บเงิน

5.4.2. 4.2.การสนับสนุนการรักษาพยาบาล โดยการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ต่างๆ เข้าด้วยกัน สามารถสร้างเครือข่ายข้อมูลทางการแพทย์ แลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้ป่วย

5.4.3. 4.3.สามารถให้คำปรึกษาทางไกล โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชำนาญ เทคโนโลยี สารสนเทศ จะช่วยให้แพทย์สามารถเห็นหน้า หรือท่าทางของผู้ป่วยได้ช่วยให้ส่งข้อมูลที่เป็นเอกสาร หรือภาพเพื่อประกอบการพิจารณาของแพทย์ได้

5.4.4. 4.4.เทคโนโลยีสารสนเทศ ยังช่วยให้ผู้บริหารสามารถกำหนดนโยบาย และ ติดตามกำกับการดำเนินงานตามนโยบายได้ดียิ่งขึ้น โดยอาศัยข้อมูลที่ถูกต้องฉับไว และข้อมูลที่จำเป็น ทั้งนี้อาจใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวเก็บข้อมูลต่างๆ ทำให้การบริหารเป็นไปได้ด้วยความรวดเร็ว ถูกต้องมากยิ่งขึ้น

5.4.5. 4.5.ในด้านการให้ความรู้หรือการเรียน การสอนทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะดาวเทียม จะช่วยให้การเรียนการสอนทางไกลทางด้านการแพทย์และสาธารณะสุข เป็นไปได้มากขึ้นประชาชนสามารถเรียนรู้พร้อมกันได้ทั่วประเทศและ ยังสามารถโต้ตอบหรือถามคำถามได้ด้วย