การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ por Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. ผู้ป่วยการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract infection)

1.1. เด็กหญิงมีโอกาสเป็นโรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้มากกว่าเพศชาย ประมาณ 3 เท่า ยกเว้นภายในระยะ 6 เดือนหลังเกิด

1.2. สาเหตุและพยาธิสภาพ

1.2.1. ภูมิต้านทานที่กระเพาะปัสสาวะลดลง ทำให้แบคทีเรียรวมเป็นกลุ่ม เกิดการแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆ

1.2.1.1. แพร่เชื้อไปตามทางเดินปัสสาวะ

1.2.1.2. เข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด

1.2.1.3. เข้าสู่หลอดน้ำเหลือง

1.2.2. การอุดกั้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของกระเพาะปัสสาวะ

1.3. อาการทางคลินิก

1.3.1. อายุต่ำกว่า 2 ปี

1.3.1.1. มีไข้

1.3.1.2. ตัวเหลือง

1.3.1.3. อาเจียน

1.3.1.4. เบื่ออาหาร

1.3.1.5. ท้องเดิน

1.3.2. อายุ 2-14 ปี

1.3.2.1. อาการไข้

1.3.2.2. ปัสสาวะบ่อย ปวดแสบขณะถ่าย ปัสสาวะมีกลิ่น ปัสสาวะมีเลือด

1.3.2.3. ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง

1.3.3. ความดันโลหิตสูง

1.4. ภาวะแทรกซ้อน

1.4.1. นิ่วในกระเพาะอาหาร

1.4.2. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosis และไตวาย

1.5. หลักการพยาบาล

1.5.1. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

1.5.2. สังเกตภาวะแทรกซ้อน

1.5.3. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย

1.5.4. สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา

1.6. หลักการรักษา

1.6.1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ

1.6.2. ป้องกันเนื้อไตถูกทำลายและป้องกันไตวาย

1.6.3. ค้นหาและแก้ไขความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ

1.6.4. บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ

1.6.5. ป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ

1.7. หลักการตรวจวินิจฉัย

1.7.1. จากการซักประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

1.7.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.7.2.1. การตรวจปัสสาวะ

1.7.2.1.1. ตรวจพบเม็ดเลือดขาว

1.7.2.1.2. พบเชื้อแบคทีเรีย

1.7.2.2. การตรวจทางรังสีวิทยา

1.7.2.2.1. Voiding cystourethrogram เพื่่อตรวจหา VUR

1.7.2.2.2. Ultrasonography (US)

1.7.2.2.3. Intravenous pyelography (IVP) เพื่อดูโครงร้างของระบบปัสสาวะ

2. ผู้ป่วยที่หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด (Phimosis in children)

2.1. เป็นภาวะที่พบบ่อยในเพศชาย คือภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศกลับมาทางด้านหลังหัวของอวัยวะเพศได้

2.2. อาการผิดปกติ

2.2.1. มีอาการปัสสาวะลำบาก ร้องปวดขณะขับถ่ายปัสสาวะ

2.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง (ballooning) ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ

2.2.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบอาจมีสารคัดหลั่งสีเหลืองคล้ายหนองไหลออกมาด้วย

2.2.4. ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก หรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง (true phimosis)

2.2.5. มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Retained smegma)

2.2.6. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ (preputial adhesions)

2.2.7. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้ (peraphimosis)

2.2.8. มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกระปริดกระปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน (urinary tract infection, UTI)

2.3. การรักษา

2.3.1. การรักษาแบบประคับประคอง

2.3.1.1. การใช้ครีม steroid ทาบริเวณหนังหุ้มปลายมีความยืดหยุ่นดีขึ้น พร้อมกับรูดหนังหุ้มปลายลง ทำทีละน้อย

2.3.1.2. ยาที่ใช้ได้แก่ Betamethasone ทาวันละ 2-3 ครั้ง หากใช้เกิน 3 เดือนแล้วไม่ได้ผลควรเปลี่ยนการรักษา

2.3.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.3.2.1. เป็นการรักษาที่ไม่สามารถรักษาด้วยวิธีอื่นแล้ว

2.3.2.2. ในวัยรุ่นทำโดยใช้ยาชาเฉพาะที่ แต่ในเด็กต้องดมยาสลบเพราะเด็กจะต่อต้าน

2.3.2.3. ข้อบ่งชี้ในการขลิบหนังหุ้มปลาย

2.3.2.3.1. หนังหุ้มปลายไม่เปิดที่มีลักษณะของพังผืดบริเวณปลายชัดเจน จนทำให้ปัสสาวะลำบาก

2.3.2.3.2. มีการอักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศเป็นๆหายๆ

2.3.2.3.3. มีทางเดินปัสสาวะอักเสบ เป็นๆหายๆที่ไม่สามารถหาสาเหตุอื่นได้

2.3.2.4. ข้อห้ามการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.3.2.4.1. เด็กที่มีความปกติของอวัยวะเพศ

2.3.2.4.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง มีการเจ็บป่วยที่ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด

2.3.2.5. ภาวะแทรกซ้อน

2.3.2.5.1. การมีเลือดออกบริเวณผ่าตัด

2.3.2.5.2. การอักเสบ

2.3.2.5.3. การติดเชื้อ

2.3.2.6. การผ่าตัด

2.3.2.6.1. การเตรียมตัวก่อนผ่าตัด

2.3.2.6.2. การเตรียมตัวหลังผ่าตัด

3. โรคไต Nephrotic syndrome

3.1. สาเหตุ

3.1.1. ความผิดปกติที่ไต (Primary nephrotic syndrome)

3.1.1.1. Idiopathic NS

3.1.1.2. Congenital nephrosis / Congnital NS

3.1.1.3. Acute post infection glomerulonephritis , Chronic glomerulonephitis

3.1.2. ร่วมกับโรคระบบอื่นๆ

3.1.2.1. โรคติดเชื้อ

3.1.2.2. สารพิษ

3.1.2.3. ภูมิแพ้

3.1.2.4. โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด การอุดตันของไตและหัวใจวาย

3.1.2.5. เนื้องอกชนิดร้าย

3.1.2.6. โรคอื่นๆ

3.1.2.6.1. SLE

3.1.2.6.2. Anaphylactoid purpura

3.1.2.6.3. Multiple myeloma

3.2. พธาธิสรีรภาพ

3.2.1. เกิดจากความผิดปกติที่ Glomerular basement membrane ทำให้โปรตีนทีมีโมเลกุลเล็กไหลรั่วผ่านออกมา

3.2.1.1. อัลบูมิน

3.2.1.2. อิมมูโนโกลบูลิน

3.3. อาการทางคลินิก

3.3.1. น้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วไม่กี่วัน

3.3.2. มีอาการบวมรอบหนังตาและหน้าในเวลาตื่นเช้าและหายไปในเวลาบ่าย

3.3.3. ปัสสาวะน้อบลงและสีเข้มขึ้น

3.3.4. อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย แน่นท้อง หายใจลำบาก

3.3.5. อาจมีอาการติดเชื้อร่วมด้วย

3.4. หลักการวินิจฉัย

3.4.1. จากประวัติ อาการและตรวจร่างกาย

3.4.2. การตวจทางห้องปฏิบัติการ

3.4.3. การตรวจปัสสาวะ

3.4.3.1. ตรวจหาโปรตีนได้

3.4.3.1.1. วัดปริมาณโปรตีนในปัสสาวะรอบ 24 ชั่วโมง เกิน 2 กรัม/ตารางเมตร

3.4.3.2. การตรวจเลือด

3.4.3.2.1. ซีรั่มโปรตีนต่ำ

3.4.3.2.2. ซีรั่มโคเลสเตอรอลสูงประมาณ 450-1500 mg./dl.

3.4.3.2.3. Hb./ Hct. มักจะปกติกรือสูงเล็กน้อย

3.4.3.2.4. ซีรั่มโซเดียมปกติหรือต่ำ

3.4.3.3. การตรวจอื่น

3.4.3.3.1. การตวจชิ้นเนื้อของไต (Renal Biopsy)

3.5. ภาวะแทรกซ้อน

3.5.1. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง

3.5.2. การติดเชื้อ : เนื่องจากการทำงานของภูมิคุ้มกันในร่างกายลดลง รวมทั้งการได้รับยาสเตียรอยด์ ภูมิคุ้มกันถูกกด

3.5.3. การอุดตันของหลอดเลือดโดยเฉพาะ renal vein

3.6. หลักการรักษา

3.6.1. เพื่อลด Permeability ที่ Glomerular basement membrane โดยการใช้ยาสเตียรอยด์

3.6.2. ป้องกันและควบคุมภาวะโภชนาการ

3.6.3. ลดอาการบวมและควบคุม

3.6.4. เพิ่ม K เพิ่ม Vitamin

3.6.5. ป้องกันการติดเชื้อ

3.7. หลักการพยาบาล

3.7.1. ป้องกันการแตกของผิวหนัง

3.7.2. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

3.7.3. ป้องกันภาวะ Hypovolemia และ Hypokalemia

3.7.4. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

4. ผู้ป่วยไตอักเสบ (Acute glomerulonepritis)

4.1. สาเหตุ

4.1.1. พบบ่อยในเด็กอายุ 2-12 ปี และพบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง

4.1.2. หลังจากนั้นจะเกิด Antigen-antibody complex ทำให้หลอดเลือดฝอย Glomerular ถูกทำลาย

4.1.3. เกิดขึ้นหลังจากการติดเชื้ออื่นๆของร่างกาย

4.1.3.1. Pharyngitis จาก Streptococcus gr. A. (Post - streptococcal glomerulonephritis)

4.1.3.2. การติดเชื้อจากผิวหนัง

4.2. พยาธิสรีรภาพ

4.2.1. เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจน กระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดี้ขึ้น

4.2.2. ทำให้การกรองของเสียและการดูดซึมกลับไม่เป็นไปตามปกติ

4.2.2.1. เกิดการคั่งของน้ำ

4.2.2.2. การคั่งของของเสีย

4.3. อาการทางคลินิก

4.3.1. มีอาการบวมชนิดกดไม่บุ๋มเนื่องจากเป็นการบวมโดยน้ำมากในหลอดเลือด

4.3.1.1. หน้าโดยเฉพาะขอบตา

4.3.1.2. ขา

4.3.1.3. ท้อง

4.3.2. ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม ปัสสวาะไม่ค่อยออก

4.3.3. มีอาการซีด กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย

4.4. หลักการวินิจฉัย

4.4.1. จากประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

4.4.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

4.4.3. การตรวจปัสสาวะ

4.4.3.1. พบเม็ดเลือดแดง

4.4.3.2. เม็ดเลือดขาว

4.4.3.3. อัลบูมิน

4.5. ภาวะแทรกซ้อน

4.5.1. Hypertensive encephalopathy

4.5.2. Acute cardiac decompensation

4.5.3. Acute renal failure

4.6. หลักการรักษา

4.6.1. ไม่มีการรักษาเฉพาะ แต่ใช้การรักษาแบบประคับประคอง

4.6.2. ควบคุมและป้องกันภาวะแทรกซ้อน

4.6.3. เพื่อลดความดันโลหิตและอาการบวม

4.6.4. เพื่อควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ

4.7. หลักการพยาบาล

4.7.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

4.7.2. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

4.7.3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง

4.7.4. ลดความดันโลหิต

4.7.5. ป้องกันภาวะแทรกซ้อน