ข้อ จำกัด การเติบโตของมดลูกภายใน (IUGR) หรือ ตัวต้านทานการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ (FGR)

Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
ข้อ จำกัด การเติบโตของมดลูกภายใน (IUGR) หรือ ตัวต้านทานการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ (FGR) por Mind Map: ข้อ จำกัด การเติบโตของมดลูกภายใน (IUGR) หรือ ตัวต้านทานการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ (FGR)

1. พยาธิกำเนิด

1.1. การไหลเวียนเลือดระหว่างมารดาและทารกในครรภ์ เพื่อขนส่งออกซิเจนและสารอาหารจากมารดาสู่ทารก เพื่อเลี้ยงของร่างกายทารกเกิดความบกพร่อง ทำให้เกืดทารกเจริญเติบโตช้าในครรถ์

2. สาเหตุ

2.1. ปัจจัยทางมารดา

2.1.1. มารดาทีมีรูปร่างเล็ก

2.1.2. น้ำหนักของมารดาไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรถ์ภาวะทุพโภชนาการในมารดา

2.1.3. การติดเชื้ออาจส่งผลให้มีการติดเชื้อของรกและทารกในครรภ์

2.1.4. โรคของมารดา

2.1.4.1. ความดันโลหิตสูง

2.1.4.2. เบาหวาน

2.1.4.3. ไตเรื้อรัง

2.2. ปัจจัยแวดล้อม

2.2.1. สูบบุหรี่ตั้งแต่ 20 มวน/วัน

2.2.2. สารเสพติด แอลกอฮอล์

2.2.3. การใช้ยาเช่น ยากันชัก ยาห้ามการแข็งตัวของเลือด

2.3. ปัจจัยจากทารก

2.3.1. ความผิดปกติทางโครงสร้างของอวัยวะ เช่นทารกไม่มีกระโหลกศรีษะ หน้าท้องไม่ปิด

2.3.2. ความผิดปกติของโครโมโซม เช่น Trisosomy21,18,13

2.3.3. ทารกมีความผิดปกติทางร่างกายและโครโมโซมที่อาจมีชีวิตได้หลังคลอด

2.3.4. ทารกมีความผิดปกติทางร่างกายและโครโมโซมที่ไม่สามารถมีชีวิตได้หลังคลอด

2.4. ปัจจัยจากรก

2.4.1. Placenta circumvallate

2.4.2. Placenta previa

2.4.3. ทารกมีขนาดตัวเล็กตามพันธุกรรม

2.4.4. การทำงานของรกเสื่อมลง

2.5. วิธีการคลอด

2.5.1. คลอดตามปกติ

2.5.2. ผ่าท้องคลอด

2.5.3. แพทย์อาจพิจารณาชักนำการเจ็บครรภ์คลอดหรือผ่าคลอด

3. การดูแลรักษา

3.1. ค้นหาและลดปัจจัยเสี่ยงเสริมสร้างการเจริญเติบโตของทารก

3.1.1. การซักประวัติมารดาอย่างละเอียด การทำงานการพักผ่อน การใช้ยา การใช้สารเพสพติด

3.1.2. ให้มารดานอนตะแคงซ้าย เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงรกและทารกมากที่สุด

3.1.3. การให้ออกซิเจนแก่มารดา

3.1.4. การ Aspirin ขนาดต่ำเพื่อป้องกันหรือรักษา ภาวะทารกโตช้าในครรภ์ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงรกและทารกเพิ่มขึ้น

3.2. ตรวจเฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์

3.2.1. การนับลูกดิ้น

3.2.2. การใช้ Biophysical profile (BPP) และ NST

3.2.3. ใช้คลื่นเสียงความถี่สูง

3.3. การกำหนดเวลาคลอดที่เหมาะสม

3.3.1. การกำหนดเวลาคลอดที่เหมาะสม

4. การวินิจฉัย

4.1. ประวัติการฝากครรภ์

4.2. การตรวจความสูงของยอดมดลูก

4.2.1. ช่วง 18-30 wks ความสูงของยอดมดลูกเป็น cm จะเท่ากับอายุครรภ์

4.3. การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง

4.3.1. BPH:Biparietal diameter (วัดความกว้างของกะโหลกศรีษะ)

4.3.2. FL:Fermur length

4.3.3. AC:Abdominal circumference (เส้นรอบท้อง)

5. การแบ่งชนิด

5.1. Asymmetrical IUGR

5.1.1. เจริญเติบโตไม่สมสัดส่วน

5.1.1.1. AC เส้นรอบท้องต่ำกว่าเกณฑ์

5.1.1.2. BPD ความกว้างศรีษะปกติ

5.1.1.3. HC เส้นรอบศรีษะปกติ

5.1.2. สาเหตุความผิดปกติ

5.1.2.1. การไหลเวียนโลหิตในมดลูกและรกผิดปกติ (Uteroplacenta insufficiency)

5.2. Symmetrical TUGR

5.2.1. สาเหตุความผิดปกติ

5.2.1.1. ได้รับสาร Teratogen

5.2.1.2. ความผิดปกติของโครโมโซม

5.2.1.3. ติดเชื้อ

5.2.2. เจริญเติบโตช้าสมสัดส่วน

5.2.2.1. HC เส้นรอบศรีษะต่ำกว่าเกณฑ์

5.2.2.2. BPD ความกว้างศรีษะต่ำกว่าเกณฑ์

5.2.2.3. AC เส้นรอบท้องต่ำกว่าเกณฑ์

5.2.2.4. FL ความยาวกระดูกต้นขาต่ำกว่าเกณฑ์

5.3. Combined type IUGR