การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะในผู้ป่วยวัยเด็ก

Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะในผู้ป่วยวัยเด็ก por Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะในผู้ป่วยวัยเด็ก

1. ผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน หากมีการติดเชื้อซ้ำๆ อาจจำเป็นต้องใช้ยาปรับฮอร์โมนแบบเฉพาะที่ช่วย เช่น ยาเหน็บเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นบริเวณเยื่อบุช่องคลอดและเยื่อบุท่อปัสสาวะเพื่อลดการติดเชื้อ แต่เนื่องจากการใช้ฮอร์โมนอาจมีผลข้างเคียงได้ จึงควรปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง

2. Urinary tract infection

2.1. สาเหตุ

2.1.1. แบคทีเรียแกรมลบ

2.1.2. การไหลย้อนกลับของปัสสาวะ

2.1.3. การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ เช่น นิ่ว

2.1.4. ภูมิคุ้มกันเฉพาะที่ต่ำ

2.2. ปัจจัยเสี่ยง

2.2.1. การกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน ทำให้เชื้อโรคในปัสสาวะเจริญเติบโตได้ดี

2.2.2. การดูแลรักษาสุขอนามัยบริเวณอวัยวะเพศไม่ดี โดยเฉพาะผู้หญิงหากทำความสะอาดไม่ถูกวิธี เช่น เช็ดทำความสะอาดจากด้านหลังมาด้านหน้า แทนที่จะเป็นจากด้านหน้าไปด้านหลังก็จะทำให้มีโอกาสติดเชื้อจากช่องคลอดและทวารหนักได้

2.2.3. การสวนล้างช่องคลอดด้วยยาปฏิชีวนะ ทำให้แบคทีเรียชนิดดีที่ทำหน้าที่ป้องกันเชื้อโรคถูกกำจัดออกไป จึงเกิดการติดเชื้อได้ง่ายขึ้น

2.2.4. การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์

2.2.5. การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน เมื่อฮอร์โมนเพศหญิงลดลงทำให้ความชุ่มชื้นบริเวณเยื่อบุช่องคลอดและเยื่อบุท่อปัสสาวะซึ่งช่วยป้องกันการติดเชื้อลดลงตามไปด้วย

2.2.6. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากควบคุมโรคได้ไม่ดีก็มีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากร่างกายมีภูมิต้านทานโรคต่ำอยู่แล้ว

2.2.7. ผู้ป่วยที่ต้องรับประทานยากดภูมิต้านทาน

2.2.8. การใส่คาสายสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน

2.3. ปัสสาวะบ่อย แต่ครั้งละน้อยๆ มีอาการคล้ายถ่ายปัสสาวะไม่สุด

2.4. อาการ

2.4.1. รู้สึกปวดบริเวณท้องน้อย ปวดแสบ ขัด ขณะปัสสาวะโดยเฉพาะตอนปัสสาวะสุด

2.4.2. ปัสสาวะขุ่น บางครั้งมีกลิ่นผิดปกติ ในรายที่เป็นมากอาจปัสสาวะมีเลือดปน

2.5. การตรวจวินิจฉัย

2.5.1. รคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยการซักประวัติ ร่วมกับการตรวจปัสสาวะโดยส่งเพาะเชื้อ ในกรณีที่เป็นซ้ำบ่อยๆ อาจจำเป็นต้องตรวจอัลตราซาวนด์หรือส่องกล้องตรวจกระเพาะปัสสาวะเพิ่มเติมว่ามีความผิดปกติในกระเพาะปัสสาวะหรือไม่

2.5.1.1. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

2.5.1.2. นิ่วในไต

2.6. การรักษา

2.6.1. ให้ยาปฏิชีวนะประมาณ 3-5 วันขึ้นอยู่กับชนิดของยา ร่วมกับการรักษาตามอาการหากจำเป็น

2.6.1.1. ยาแก้ปวดชนิดคลายการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ

2.6.1.2. พยายามดื่มน้ำให้มากๆ

2.7. ม่กลั้นปัสสาวะ ถ้ารู้สึกปวดปัสสาวะต้องบังคับตัวเองให้เข้าห้องน้ำทันที

2.8. การป้องกันโรค และการดูแล

2.8.1. ผู้สูงอายุหลายรายเป็นโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบเนื่องจากนอนหลับนานๆ โดยไม่ลุกมาปัสสาวะ จึงไม่ควรดื่มน้ำหรือรับประทานผลไม้ที่มีน้ำมากๆ ก่อนเข้านอน

2.8.2. รักษาสุขอนามัยบริเวณอวัยวะเพศด้วยการทำความสะอาดจากด้านหน้าไปด้านหลัง

2.8.3. ไม่สวนล้างช่องคลอดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ การทำความสะอาดด้วยสบู่ธรรมดาก็เพียงพอแล้ว

2.8.4. ควบคุมโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยง เช่น เบาหวาน เพราะหากควบคุมไม่ได้ก็จะติดเชื้อซ้ำแล้วซ้ำอีก

2.8.5. ผู้ป่วยที่ต้องรับประทานยาปรับภูมิต้านทาน จำเป็นต้องปรับยาตามดุลยพินิจของแพทย์

3. Phimosis in children

3.1. ความหมาย

3.1.1. เป็นภาวะที่ ไม่สามารถดึงผิวหนังที่รัดอยู่ บริเวณใต้ต่อCoronal sulcusขึ้นมาได้ซึ่งพบได้บ่อยในคนที่uncircumcised or partially circumcised ทําให้เกิดการบวมและทําให้เส้นเลือดดําคลั่งเลือด ซึ่งหากเป็ นมากขึ ้น สามารถพัฒนาไปทําให้เกิดการกด เส้นเลือดแดง และอาจจะเกิดอาการขาดเลือดจนเนื้อตาย paraphimosis

3.2. สาเหตุที่พบได้บ่อย

3.2.1. Phimosis

3.2.2. Genitourinary procedures

3.2.3. Sexual activity

3.2.4. Penile Trauma

3.2.5. Other

3.2.5.1. มักเป็ นสาเหตุที่พบได้บ่อย เช่นในผู้ชายที่ลืมรูดหนังหุ้มปลาย หลับหลักจากปัสสาวะหรืออาบนํ ้า

3.3. Pathophysiology

3.3.1. เมื่อหนังหุ้มปลายเคลื่อนลงมาใต้ต่อ coronal sulcus เป็ นเวลานาน เกิดการรัดบริเวณที่หนัง เคลื่อนลงมา ทําให้เกิด venous engorgement และ Impairment of lymphatic and venous flow ไม่ สามารถไหลผ่านได้อย่างสะดวก ทําให้หนังหุ้มปลายบวม ซึ่งหากไมได้รับการรักษา อวัยวะเพศส่วนปลาย จะเกิดการขาดเลือดจากเส้นเลือดแดง Dorsal artery ทําให้เนื ้อตายในเวลาต่อมาซึ่งหากรุนแรงมากอาจ ทําให้ต้องทํา Amputate บริเวณ Glans of penis ได้

3.4. Clinical Presentation

3.4.1. ผู้ป่ วยที่มาด้วยภาวะ Paraphimosis มักมาด้วยอาการปวดบริเวณปวดบริเวณอวัยวะเพศ แต่ใน บางครั ้งอาการปวดอาจไม่มีก็ได้ อาการอื่นที่มักเจอได้บ่อยคือ มีการบวมและเพิ่มขนาดของหนังที่มาหุ้มรัด และในกรณีที่รุนแรงอาจทํามีความปัสสาวะผิดปกติ เช่นปัสสาวะลากหรือปัสสาวะไม่ออกได้ บางครั ้งจะให้ประวัติว่าเป็ นผู้ชายที่ไม่ได้ทํา Circumcision แล้วลืมที่จะรูดหนังหุ้มปลายคืน หลังจากการมี Sexual intercourse,การอาบนํ ้าหรือการปัสสาวะ สําหรับระยะเวลาที่จะเกิด Paraphimosiso นั ้น ไม่มีระยะเวลาตายตัวว่าเมื่อใดจึงจะเกิด

3.5. Physical Findings

3.5.1. มีอาการบวมและเจ็บของ Glans of penis

3.5.2. ผิวหนังบริเวณที่มารัดมีอาการบวมและเจ็บ

3.5.3. ตําแหน่งของหนังที่มารัดอยู่บริเวณใต้ต่อ Coronal sulcus

3.5.4. บางครั ้งจะเห็นบริเวณโคนของอวัยวะเพศ Flaccid

4. ติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆ

5. ยาควบคุมความดันโลหิต แพทย์อาจให้ยากลุ่มแองจิโอเทนซิน 2 รีเซพเตอร์ บล็อกเกอร์ ยาลอซาร์แทน ยาวาลซาร์แทน และยาต้านเอนไซม์ เอซีอี เช่น บีนาซีพริล แคปโตพริล อีนาลาพริล เป็นต้น เพื่อช่วยลดความดันโลหิตและลดปริมาณโปรตีนในปัสสาวะ

6. กลุ่มอาการอะมีลอยโดซิส (Amyloidosis

7. แพทย์มักเริ่มวินิจฉัยอาการ Nephrotic Syndrome ด้วยการสอบถามอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น ตรวจประวัติการเจ็บป่วย ตรวจร่างกาย และตรวจปัสสาวะโดยเก็บตัวอย่างปัสสาวะใน 24 ชั่วโมงเพื่อตรวจปริมาณของโปรตีนที่ปนอยู่ในน้ำปัสสาวะ

8. พยาธิสรีรภาพ

8.1. หลังการติดเชื้อประมาณ 7-14 วัน ผู้ป่วยเด็กจะมีอาการบวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา ต่อมาบวม ที่ขาและท้องชนิดกดไม่บุ๋ม และบวมไม่มาก โดยมีปริมาณน้ ามากในหลอดเลือด ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม เด็กจะมี อาการซีด กระสับกระส่าย และอ่อนเพลียมาก เด็กโตอาจบอกได้ว่ามีอาการปวดศีรษะ แน่นอึดอัดท้องและ ถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก (dysuria)

9. Nephrotic syndrome

9.1. กลุ่มอาการโปรตีนรั่วในปัสสาวะ เป็นกลุ่มอาการโรคไตที่ทำให้ร่างกายขับโปรตีนออกทางปัสสาวะมาก ผู้ป่วยจะมีอาการบวมน้ำ โดยเฉพาะบริเวณเท้า ข้อเท้า และอาจเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ตามมา

9.2. สาเหตุ

9.2.1. กรวยไตเป็นแผล

9.2.2. การกรองไตผิดปกติ

9.2.3. เยื่อบุผิวภายในกรวยไตหนาตัวขึ้น

9.2.4. โรคพุ่มพวง หรือโรคแพ้ภูมิตัวเอง

9.2.5. โรคไตจากเบาหวาน

9.2.6. ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดไต

9.3. หากวินิจฉัยว่าผู้ป่วยเป็น Nephrotic Syndrome แพทย์อาจตรวจเลือดเพื่อหาระดับโปรตีนในเลือดด้วย นอกจากนี้ แพทย์อาจต้องตรวจเพิ่มเติมด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น การเก็บตัวอย่างชิ้นเนื้อไปส่งตรวจ เป็นต้น เพื่อวินิจฉัยความผิดปกติของไตต่อไป

9.4. การวินิจฉัย

9.4.1. ยาขับปัสสาวะ เช่น ฟูโรซีไมด์ สไปโรโนแลคโตน และไฮโดรคลอโรไทอะไซด์ เป็นต้น เพื่อลดอาการบวมโดยช่วยกระตุ้นให้ไตระบายของเหลวส่วนเกินออกจากร่างกาย

9.5. การรักษา

9.5.1. ยากดภูมิคุ้มกัน อย่างยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ ซึ่งอาจช่วยลดการอักเสบของโรคบางชนิดได้ เช่น โรคพุ่มพวง และกลุ่มอาการอะมีลอยโดซิส เป็นต้น

9.5.1.1. การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาแก้อักเสบ และยาต้านการติดเชื้อ เป็นต้น

9.5.2. ยาลดคอเลสเตอรอล กลุ่มยาสแตติน เช่น อะทอร์วาสแตติน ฟลูวาสแตติน และโลวาสแตติน เป็นต้น ซึ่งยากลุ่มนี้จะช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในร่างกายได้

9.5.3. ยาเจือจางเลือด แพทย์อาจสั่งจ่ายยาต้านการจับตัวของเลือด เช่น เฮพาริน วาฟาริน และดาบิกาทราน เป็นต้น เพื่อไม่ให้เลือดจับตัวกันเป็นลิ่มในหลอดเลือด และลดความเสี่ยงการเกิดลิ่มเลือด

10. Acute glomerulonephritis

10.1. ความหมาย

10.2. สาเหตุ

10.2.1. ภาวะที่มีการอักเสบเฉียบพลัน ของโกลเมอรูลัส ท าให้มีจ านวนเซลล์เพิ่มขึ้นภายในโกลเมอรูลัสทั้งเม็ดเลือดขาวและ endothelial cells ส่งผลให้เกิดอาการบวม ปัสสาวะออกน้อย ความดันโลหิตสูง ภาวะปัสสาวะมีเลือดและโปรตีน

10.2.2. ติดเชื้อ Streptococcus group A. (post-streptococcal glomerulonephritis)

10.3. การวินิจฉัยโรค

10.3.1. ตรวจปัสสาวะ ตรวจพบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว casts และอัลบูมิน ไม่พบแบคทีเรีย หรือ เพาะเชื้อไม่ขึ้น

10.3.2. การตรวจเลือด ตรวจพบระดับ Na+, K+, Cl- ปกติหรือสูงในรายที่มีอาการรุนแรง ระดับ BUN ครีเอติ นิน และกรดยูริคสูง

10.3.3. การตรวจอื่นๆได้แก่ การเพาะเชื้อจาก pharynx พบ streptococcus ในบางรายท า renal biopsy, EKG และการถ่ายภาพรังสีเพื่อดูภาวะแทรกซ้อน

10.4. การรักษา

10.4.1. การพักผ่อน

10.4.1.1. รูปแบบของการพักผ่อนขึ้นอยู่กับสภาพ และอาการของผู้ป่วยที่มารับการรักษาจากมากไปหาน้อย

10.4.2. อาหารและน้ำดื่ม

10.4.2.1. การจำกัดน้ำดื่ม

10.4.2.2. การจ ากัดเกลือ ลดปริมาณเกลือโซเดียมและโปตัสเซียม*

10.4.3. การรักษาด้วยยา

10.4.3.1. ยาที่ช่วยลดปริมาตรของน้ าในร่างกาย คือ ยาขับปัสสาวะ เช่น furosemide

10.4.3.2. ยาขยายหลอดเลือด นิยมใช้ Hydralazine ขนาด 0.15-0.30 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ครั้ง ให้ทางกล้ามเนื้อหรือ ทางหลอดเลือดด า

10.4.3.3. ยาต้านฤทธิ์ adrenalin ได

10.4.3.4. กรณีที่มีความดันสูงมากและมีอาการทางสมอง แพทย์อาจให้ยา diazoxide 2-5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ครั้ง ทาง หลอดเลือดด า

10.4.3.5. ในรายที่มีภาวะ heart failure มีอาการแทรกซ้อนทางหัวใจ อาจต้องให้ lanoxin หรือ digitalis ขนาด 0.04- 0.06 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ครั้ง  การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ ยาที่ใช้ได้แก่ penicillin, chephalosporins หรือ broad-spectrum macrolides