การสื่อสารในบริบทพหุวัฒนธรรมยุคดิจิทัล

Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
การสื่อสารในบริบทพหุวัฒนธรรมยุคดิจิทัล por Mind Map: การสื่อสารในบริบทพหุวัฒนธรรมยุคดิจิทัล

1. วัฒนธรรมดิจิทัล(Digital culture) คือความสัมพันธ์ระหว่างคนกับเทคโนโลยี ที่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาในด้านต่าง ๆ โดยวัฒนธรรมดิจิทัลที่มีประสิทธิ์ภาพในองค์กรต้องประกอบไปด้วย

1.1. 1. Transparency ความโปร่งใส ตรวจสอบได้

1.2. 2. Sharing การแบ่งปันข้อมูลออนไลน์ เพื่อลดทรัพยากรในการใช้เอกสาร

1.3. 3. Collaboration การทำงานโดย ใช้ข้อมูลร่วมกัน

1.4. 4. Data driven การนำข้อมูลมากๆ มาใช้ ในการตัดสินใจ

1.5. 5. Agility ความคล่องตัวพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลง และก้าวทันสิ่งใหม่อย่างรวดเร็ว

2. ชุมชนเสมือน (Virtual communities) คือเครือข่ายทางสังคมที่มีการโต้ตอบสื่อสารผ่านสื่อเฉพาะ เพื่อให้บรรลุความสำเร็จหรือสิ่งที่สนใจร่วมกัน

2.1. ตัวอย่าง วิสัยทัศน์ของ Facebook ที่ขยายสู่ชุมชนโลก Global Community

2.1.1. 1. Supportive communities ชุมชนที่สนับสนุนกันโดยเชื่อมโยงคนที่สนใจในเรื่องเดียวกัน แต่อยู่คนละประเทศให้มาอยู่รวมกัน

2.1.2. 2. Safe communities ชุมชนที่ปลอดภัย เฟสบุ๊คมี 3 ประเภท 1.ป้องกันอันตราย 2.ตามหาเด็กหาย 3.ค้นหาที่พักและอาหารยามวิกฤต

2.1.3. 3. Informed communityชุมชนที่ได้รับข่าวสารมี 2ประเด็นการปิดกั้นมุมมองที่แตกต่างและข่าวปลอม

2.1.4. 4. Civically engaged community เน้นการสนับสนุนออกไปใช้สิทธฺิการเลือกตั้ง

2.1.5. 5. Inclusive community ชุมชนที่ยอมรับความหลากหลายและแตกต่าง

2.2. ตัวอย่าง Community Standards ของ Facebook

2.2.1. 1. ห้ามการโพสรูปเปลือยเด็ก

2.2.2. 2. ภาพผู้ใหญ่

2.2.3. 3. ห้ามซื้อขายยาเสพติดทุกชนิด

2.2.4. 4. ห้ามกระตุ้นการก่อความรุนแรง

2.2.5. 5.ห้ามโพสต์ให้ร้าย

2.2.6. 6.ห้ามโพสต์ข้อมูลส่วนตัวของผู้อื่น

2.2.7. 7.ห้ามส่งเสริมการฆ่าตัวตาย

3. พหุวัฒนธรรม (Multicultural) คือการรวมกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางด้าน ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม มาผสมกลมกลืนกัน ปัจจุบันเป็นยุคที่โลกไร้พรมแดน โอกาสในการพบและมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนต่างวัฒนธรรม มีมากขึ้น

4. ตัวอย่าง5กลยุทธ์ (SERVE)โดย คณิศรและอิ่มจิตร (2557)

4.1. 1. Simple design คือการออกแบบที่เรียบง่ายและน่าสนใจ

4.2. 2. Easy to use คือการใช้งานง่าย มีระบบนำทางหรือเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ และไม่ซับซ้อน

4.3. 3. Reliable of content คือความน่าเชื่อถือถูกต้องของเนื้อหา โดยมีข้อมูลอ้างอิงและหน่วยงานที่รับผิดชอบ

4.4. 4. Value of all คือความมีคุณค่าของเนื้อหา

4.5. 5. Effectiveness คือความมีประสิทธิผลตามวัตถุประสงค์ของเว็บไซ์

5. กรณีศึกษาการสื่อสารในบริบทพหุวัฒนธรรมยุคดิจิทัล

5.1. 1.Blogคือเว็บไซต์ที่มีหลักการคล้ายคลึงกับการเขียนบันทึกประจำวัน จัดเป็นเครื่องมือสื่อสารที่ใช้ใน การประกาศข่าว เผยแพร่ผลงาน แสดงความคิดเห็น ฯลฯ เป็นต้น

5.2. 2.Wikiเว็บไซต์รูปแบบสาราณุกรมที่อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเข้าร่วมกันเพื่อเพิ่ม และแก้ไขข้อมูลได้ รูปแบบการอ่านการเขียนเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ

5.3. 3.Youtubeเว็บไซต์บริการแลกเปลี่ยนวิดีโอระหว่างผู้ใช้ เป็นได้ทั้งผู้ชมและผู้สร้าง

5.4. 4.Facebookเว็บไซต์บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ขนาดใหญ่

5.5. 5.Secondlifeโลกสมมติเสมือนจริงที่สร้างขึ้นให้เสมือนจริงที่สุด

5.6. 6.DiggandDelicious เป็นการจัดการ bookmark ออนไลน์

5.7. 7.Podcastบริการชุดเสียงและวิดีโอแบบดิจิทัล สามารถดาวน์โหลดผ่านแพลตฟอร์มต่าง ๆ ได้