ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ par Mind Map: ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์

1. องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์

1.1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

1.1.1. ระบบปฏิบัติการ (Operating Systems)

1.1.1.1. ควบคุมและประสานงานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด โดยเฉพาะกับส่วนนําเข้าและส่งออกผลลัพธ์(I/O Device)

1.1.1.2. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (Stand-Alone OS) เช่น คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทั่วไป

1.1.1.2.1. - DOS (Disk Operating System) - Microsoft Windows - Mac OS

1.1.1.3. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS) คือ มีผู้ใช้หลายๆคน นำไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป

1.1.1.3.1. - Windows Server - Unix - Linux

1.1.1.4. ระบบปฏิบัติการสําหรับอุปกรณ์พกพา (Mobile OS) เช่น สมาร์ตโฟน

1.1.1.4.1. - iOS (vcxgbfU’w) - Android (แอนดรอยด์) - iOS

1.1.1.5. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS) เช่น ในตู้เย็น รถยนต์

1.1.2. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Programs)

1.1.2.1. ยูทิลิตี้สําหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs)

1.1.2.1.1. - ช่วยจัดการไฟล์(File Manager) - ติดตั้ง/ลบทิ้งโปรแกรม (Uninstaller) - รักษาหน้าจอ (Screen Saver) - ฯลฯ

1.1.2.2. ยูทิลิตี้อื่นๆ (Stand-Alone Utility Programs)

1.1.2.2.1. - โปรแกรมป้องกันไวรัส (AntiVirus Program) - โปรแกรมไฟร์วอลล์ (Personal Firewall) - โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File Compression Utility)

1.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

1.2.1. แบ่งตามลักษณะการผลิต

1.2.1.1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เอง (Custom-Made Software) - ข้อดี : เพิ่มเงื่อนไขและความต้องการต่างๆได้ ไม่จํากัด ควบคุมซอฟต์แวร มีความยืดหยุ่น - ข้อเสีย : ออกแบบและพัฒนานาน เสียเวลาดูแลและบํารุงรักษา

1.2.1.1.1. In-House Developed สร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานในบริษัทเอง

1.2.1.1.2. Contract หรือ Outsource เป็นการจ้างบุคคลภายนอกให้ทําขึ้นมา

1.2.1.2. ซอฟต์แวร์สําเร็จรูป (Packaged Software) - ข้อดี : ราคาถูก มีคุณภาพดี - ข้อเสีย : เสียเงินซื้อความสามารถเพิ่ม ไม่ยืดหยุ่น

1.2.1.2.1. โปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package) เช่น Microsoft Office

1.2.1.2.2. โปรแกรมเฉพาะ (Customized Package) เพิ่มคุณสมบัติ หรือปรับปรุงเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานเฉพาะภายในองค์กร

1.2.2. แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน

1.2.2.1. กลุ่มซอฟต์แวร์สํานักงาน (Office Automation) - ซอฟต์แวร์ประมวลผลคํา (Word Processing) - ซอฟต์แวร์ตารางคํานวณ (Spreadsheet) - ซอฟต์แวร์นําเสนองาน (Presentation) - ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (Database)

1.2.2.2. ด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย - ซอฟต์แวร์สําหรับงานออกแบบ (CAD : Computer Aided Design) - ซอฟต์แวร์สําหรับสิ่งพิมพ์(Desktop Publishing) - ซอฟต์แวร์สําหรับตกแต่งภาพ (Paint/Image Editing) - ซอฟต์แวร์สําหรับการตัดต่อวิดีโอและเสียง (Video and Audio Editing) - ซอฟต์แวร์สําหรับสร้างสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) - ซอฟต์แวร์สําหรับสร้างเว็บ (Web Page Authoring)

1.2.2.3. กลุ่มซอฟต์แวร์สําหรับองค์กรธุรกิจ (Enterprise software) - ระบบบัญชี - ระบบ ERP - ระบบเงินเดือนและทรัพยากรบุคคล (HR & Payroll) - ระบบ CRM และการตลาด

2. ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์

2.1. ภาษาเขียนโปรแกรมยุคที่ 1 (First Generation Language-1GL) คือ ภาษาระดับต่ำ เป็น ภาษาเครื่อง เช่น ตัวเลขเฉพาะ 0 และ 1

2.2. ภาษาเขียนโปรแกรมยุคที่ 2 (Second Generation Language-2GL) คือ ภาษาระดับต่ำ เช่น ภาษาแอสแซมบลี ใช้คำย่อแทน 0, 1

2.3. ภาษาเขียนโปรแกรมยุคที่ 3 (Third Generation Language-3GL) เช่น ภาษาระดับสูง ใช้ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาเชิงกระบวนการหรือ Procedural Language

2.4. ภาษาเขียนโปรแกรมยุคที่ 4 (Fourth Generation Language-4GL) คือ ใช้หลักการแบบ Non-Procedural Language

2.5. ภาษาเขียนโปรแกรมยุคที่ 5 (Fifth Generation Language-5GL) คือ ด้ภาษาระดับสูงมาก ใช้ภาษาเสียงได้โดยการสั่งงานด้วยการพูด

3. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ แปลงซอร์สโค้ด (Source Code) ให้เป็น รหัสคําสั่ง (Object Code)

3.1. แอสแซมเบลอร์ (Assemblers)

3.2. อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreters)

3.3. คอมไพเลอร์ (Compilers)