ไม ้ (wood)

Iniziamo. È gratuito!
o registrati con il tuo indirizzo email
ไม ้ (wood) da Mind Map: ไม ้ (wood)

1. คุณสมบัติของไม้ประเภทต่างๆ

1.1. 1.ไม้เนื้อแข็ง

1.1.1. ไม้เต็ง

1.1.1.1. เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขนาดเป็นหมู่ตามป่าแดดทั่วไป

1.1.1.2. ลักษณะเนื้อไม้

1.1.1.2.1. เป็นสีน้ำตาลอ่อน เมื่อแรกตัดทิ้งไว ้ นานจะเป็นสีน้ำตาลแก่แกมแดง เสี้ยนสับสน เนื้อหยาบแต่สม่ําเสมอแข็งเหนียว แข็งแรงและทนทานมาก แห้งแล้ว เลื่อยไสกบตกแต่งยาก

1.1.1.3. ใช้ทำหมอนรางรถไฟ วงกบประตูหน้าต่าง โครง หลังคา เสา

1.1.2. ไม้รัง

1.1.2.1. เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขนาดเป็นหมู่ตามในป่าแดดทั่วไป

1.1.2.2. ลักษณะเนื้อไม

1.1.2.2.1. มีสีน้ำตาลอมเหลือง เสียน สับสน เนื้อหยาบแต่สม่ําเสมอ แข็งหนัก แข็ง แรง และทนทานมาก เลือยไสกบตกแต่งค่อน ข้างยาก เมื่อแห้งจะมีลักษณะคุณสมบัติคล้าย ไม้เต็ง จึงในบางครั้ง เรียกว่าไม้เต็งรัง

1.1.2.2.2. ใช้ทำเสาและโครงสร้างอาคารต่างๆ ทำหมอน รางรถไฟ ทำเครื่องมือกสิกรรม

1.1.3. ไม้แดง

1.1.3.1. เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นทั่วไปในป่า เบญจพรรณแล้ง และชื้น

1.1.3.2. ลักษณะเนื้อไม้

1.1.3.2.1. ไม ้ มีสีแดงเรื่อๆ หรือสีน้ำตาลอมแดง เสี้ยนเป็นลูกคลื่นหรือสับสน เนื้อ ละเอียดพอประมาณ แข็งเหนียวแข็งแรงและทนทาน เลื่อยใสกบแต่งได ้ เรียบร้อยขัดชักเงาได้ดี

1.1.4. ไม้ตะเคียนทอง

1.1.4.1. เป็นต้นไม้ใหญ่และสูงมาก ขึ้น เป็นหมู่ตามมป่าดิบชื้นทั่วไป

1.1.4.2. ลักษณะเนื้อไม

1.1.4.2.1. มีสีเหลืองหม่นสีน้ำตาลอมเหลืองมักมีเส้นสีขาวหรือเทาขาวผ่านเสมอ สีที่ผ่านเป็นท่อน้ำมันหรือยาง เสี้ยนมักสับสน เนื้อละเอียดปานกลาง แข็งเหนียว ทนทาน ทนปลวกได้ดี

1.1.4.3. ใช้ในการก่อสร้างอาคาร

1.1.5. ไม้ตะแบก

1.1.5.1. เป็นต้นไม้สู้งใหญ่ ตอนโคนมีลักษณะเป็นพู ขึ้นในป่าเบญจพรรณชื้น และ แล้งทั่วไป

1.1.5.2. ลักษณะเนื้อไม้

1.1.5.2.1. สีเทาจนถึงสีน้ำตาลอมเทา เสีMยนตรง หรือเกือบตรง เนืMอละเอียดปานกลางเป็นมัน แข็ง เหนียว แข็งแรงทนทานดี

1.1.5.3. ใช้ทำเสาบ้าน ทำเรือ แพ เกวียน

1.1.6. ไม้สัก

1.1.6.1. เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทางภาคเหนือและบางส่วนของภาคกลางและตะวันตก

1.1.6.2. ลักษณะเนื้อไม้

1.1.6.2.1. เป็นสีเหลืองทอง นานเข ้าจะกลายเป็นสีน้ำตาล หรือน้ำตาลแก่ มีกลิ่นเหมือนหนังฟอกเก่าๆ และมีน้ำมันในตัวมักมีเส้นสีแก่แทรก เสี้ยนตรงเนื้อหยาบและไม่สม่ําเสมอ แข็งแรงทนทานที่สุด ปลวกมอดไม่ทำอันตราย เป็นไม้ที่ผึ่งให้แห้ง ได้ง่ายและอยู่ตัวดี

1.2. 2.ไม้เนื้อแข็งปานกลาง

1.2.1. ไม้ยาง

1.2.1.1. เป็นตน้ ไมสู้งใหญ่สูงชะลูด ไม่มีกิ่ง ที่ลำต้น มักขึ้นเป็นหมู่ในป่าดิบชื้นและที่ต่ําชุ่ม ชื้นตามบริเวณใกล้เคียงแม่น้ำลำธารในป่าดิบ และป่าอื่นๆทั่วไป

1.2.1.2. ลักษณะเนื้อไม้

1.2.1.2.1. สีแดงเรื่อๆ หรือสีน้ำตาลหม่น เสี้ยนมักตรง เนื้อหยาบ แข็งปานกลาง ใช้ใน ร่มทนทานดี เลื่อย ไสกบตกแต่งได้ดี้

1.2.1.3. ใช้ในงานก่อสร้างทั่วไป ทำหีบ ที่นิยมใช ้ กันมาก คือ ใชเ้ป็นไม้ฝ้ า ไม่คร่าว ฝ้า เพดาน คร่าวฝา

1.2.2. ไมฉ่ำฉา

1.2.2.1. ลักษณะคุณสมบัติ

1.2.2.1.1. ไม้เนื้อหยาบไม่แน่นมีสีค่อนข้างจาง (ขาว) มีลวดลายสวยงาม มีน้ำหนักเบา จัดอยู่ในประเภทไมเ้เนื้ออ่อน ทำการเลื่อย ผ่า ไสกบ ตกแต่งชักเงาได้ง่าย

1.2.2.2. ประโยชน์

1.2.2.2.1. ใช้ทำลัง กล่องใส่วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ ปัจจุบันนิยมนำมาใช้เครื่อง เรือน เครื่องใช้ต่างๆ หรือเพื่อใช้ตกแต่ง

1.2.3. ไม้กะบาก

1.2.3.1. เป็นต้นไม้สูงใหญ่ ขึ้นปะปรายในป่าดิบชื้นและ ป่าเบญจพรรณชื้นทั่วประเทศ

1.2.3.2. ลักษณะเนื้อไม้

1.2.3.2.1. โดยรวมมีสีตั้งแต่นวลเหลืองถึงน้ำตาล อ่อนแกมแดงเรื่อๆ เสี้ยนมักตรง เนื้อหยาบแต่สม่ําเสมอแข็ง เหนียว เลื่อย ไสกบตกแต่งได้ไม่ยาก

1.2.3.3. ข้อเสีย

1.2.3.3.1. เนื้อเป็นทรายทำให้กัดคมเครื่องมือ ผึ่ง แห้งง่ายและไม่ค่อยเสื่อมเสีย

1.3. 3. ไม้เนื้ออ่อน

1.3.1. ไม้สยาขาว

1.3.1.1. เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นตามไหล่ เขาและบนเขาในป่าดิบทางภาคใต้บาง จังหวัด เช่น ยะลา นราธิวาส

1.3.1.2. ลักษณะเนื้อไม้

1.3.1.2.1. สีชมพูอ่อนแกมขาวถึงน้ำตาลอ่อนแกม แดง มีริ้วสีแก่กว่าสีพื้นเป็นมันเลื่อมเสี้ยนสับสน เนื้อหยาบอ่อน ค่อนข้างเหนียว ทนทานในร่ม เลื่อยไสผ่าได้ง่าย

1.3.1.3. ใช้ทำเครื่องเรือนและส่วนของอาคารที่อยู่ในร่มเปลือกใชทำไม้อัดได ้

1.3.2. ไม้ก้านเหลือง

1.3.2.1. เป็นต้นไมข้ นาดกลางถึง ขนาดใหญ่ ขึ้นตามริมน้ำแม่น้ำลำธารหรือในที่ ชุ่มชนทั่วไป

1.3.2.2. ลักษณะเนื้อไม้

1.3.2.2.1. สีเหลืองเข้มถึงสีเหลืองปนแสด เสี้ยนตรงละเอียดพอประมาณและอ่อน นำไป เลื่อย ไสกบได้ง่ายชักเงาได้ดี

1.3.2.3. ใช้ทำพื้น ฝา เครื่องเรือน หีบใส่ของ

2. สาเหตุที่ทำให้ไม้ผุพังเสียหาย

2.1. ไม ้ในน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม จากเพรียง หอยสอง ฝา กุ้ง ปู บางชนิด เข้าทำลายเพื่อเป็นที่อยู่ อาศัย

2.2. ไม้ในนร่มจากปลวก

2.3. ไม้กลางแจ้งจากแดดและฝน

2.4. ไม้ในที่ชื้นแฉะ จากตัวอ่อนของแมลงพวก เพรียงน้ำจืด

3. ลักษณะของหน้าตัดไม้

3.1. 1. ใจไม้

3.2. 2. แก่นไม้

3.3. 3. กระพี

3.4. 4. เยื่อไม้

3.5. 5. เปลือกชั้นใน

3.6. 6. เปลือกชั้นนอก

3.7. 7. เส้นวงรอบปี

4. ประเภทของไม ้

4.1. 1.ไมเนื้อแข็ง

4.1.1. มีความแข็งแรงสูงกว่า 1000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร มีความทนทานสูง กว่า 6 ปี

4.1.1.1. ไมเคี้ยม

4.1.1.2. ไม้เอก

4.1.1.3. ไม้หลุมพอ

4.1.1.4. ไม่เสลา

4.1.1.5. ไม้สักขี้ควาย

4.1.1.6. ไม้เลียงรัง

4.1.1.7. ไม้รัง

4.2. 2.ไม้เนื้อแข็งปานกลาง

4.2.1. มีความแข็งแรง 600 ถึง 1000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร มีความทนทาน 6 ปี

4.2.1.1. ไม้เหียง

4.2.1.2. ไม้รกฟ้า

4.2.1.3. ไม้ยูง

4.2.1.4. ไม้กว้าว

4.2.1.5. ไม้มะค่าแต้

4.2.1.6. ไม้พลวง

4.2.1.7. ไม้นนทรี

4.2.1.8. ไม้ตราเสื้อ

4.3. 3.ไม้เนื้ออ่อน

4.3.1. มีความแข็งแรงต่ํากว่า 600 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร มีความทนทานต่ํา กว่า 2 ปี

4.3.1.1. ไม้อินทนิล

4.3.1.2. ไม้สัก

4.3.1.3. ไม้ยางแดง

4.3.1.4. ไม้พะยอม

4.3.1.5. ไม้พญาไม้

4.3.1.6. ไม่ทำมัง

4.3.1.7. ไม้ตะบูนขาว

4.3.1.8. ไม้กะบาก

4.3.1.9. ไม้กระเจา

4.3.1.10. ไม้กวาด