คลอดระยะที่ 1

登録は簡単!. 無料です
または 登録 あなたのEメールアドレスで登録
คลอดระยะที่ 1 により Mind Map: คลอดระยะที่ 1

1. ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด

1.1. หดรัดตัวมดลูก

1.1.1. Duration

1.1.1.1. ระยะเวลาที่หดตัว

1.1.1.1.1. ระยะ Transition phase ใช่ระยะวลานานสุด

1.1.2. Interval

1.1.2.1. ระยะห่างของการหดตัว

1.1.2.1.1. ระยะ Transition phase ใช่เวลานานสุด

1.1.3. Intensity

1.1.3.1. ความรุนแรงในการหดตัว

1.1.3.1.1. ระยะ Transition phase หดตัวรุนแรงสุด

1.1.4. Resting period

1.1.5. Frequency

1.1.6. Good Contraction

1.1.6.1. Interval

1.1.6.1.1. 2-3 นาที

1.1.6.2. Daration

1.1.6.2.1. 45-60 วินาที

1.1.7. เข้าสู่ระยะคลอด

1.1.7.1. ส่วนบน

1.1.7.1.1. active กล้ามเนื้อหนา

1.1.7.2. ส่วนล่าง

1.1.7.2.1. passive กล้ามเนื้อบาง

1.1.8. อยู่นอกอำนาจจิตใจ

1.1.9. ระยะหดรัดตัว

1.1.9.1. Increment

1.1.9.1.1. เริ่มหดตัว

1.1.9.2. Acme

1.1.9.2.1. หดตัวเต็มที่

1.1.9.3. Decrement

1.1.9.3.1. คลายตัว

1.1.9.4. ระยะ Increment จะยาวกว่า Acme - Decrement

1.2. ตรวจภายใน

1.2.1. ช่องคลอด

1.2.1.1. กล้ามเนื้อยืดหยุ่น

1.2.2. ปากมดลูก

1.2.2.1. เปิดขยาย

1.2.2.2. ความสั้นบาง

1.2.3. นำ้คลํ้า

1.2.3.1. ถุงนำ้คลํ้าอยู่ครบ

1.2.3.2. ถุงนำ้คลํ้าแตก

1.2.3.3. ได้เจาะถุงนำ้คลํ้า

1.2.3.4. ตรวจไม่พบถุงน้ำคลํ้า

1.2.4. ส่วนนำ

1.2.4.1. Vertex

1.2.4.2. Sacrum

1.2.4.3. Face

1.2.5. moiling

1.3. ข้อห้ามตรวจภายใน

1.3.1. เลือดออก

1.3.2. ครรภ์เป็นพิษ

1.3.3. นำ้เดินก่อนกำหนด

1.3.4. อาการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด

2. อาการที่นำมารพ.

2.1. เจ็บครรภ์จริง

2.1.1. หดรัดตัวของมดลูก

2.1.1.1. สมําเสมอ

2.1.1.2. แรงขึ้น

2.1.1.3. นานขึ้น

2.1.1.4. ถี่ขึ้น

2.1.2. ปากมดลูก

2.1.2.1. นุ่ม เปิดขยาย

2.1.3. ทารก

2.1.3.1. ส่วนนำเคลื่อนลงช่องเชิงกราน

2.2. อาการแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์

2.2.1. ทารกดิ้นน้อยลง

2.2.2. นำ้คลํ้าแตก

2.2.3. เลือดออก

2.3. นัดมาชักนำคลอด

2.3.1. ทำในรายที่ GA 42 w ขึ้นไป

3. เจ็บครรภ์จริงจนปากหมดลูกเปิด 10 cm.