องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

Laten we beginnen. Het is Gratis
of registreren met je e-mailadres
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Door Mind Map: องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

1. บุคลากร (People)

1.1. ผู้ใช้งานทั่วไป

1.1.1. ไม่จำเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญมาก มักเกี่ยวข้องกับการใช้งานทั่วไป เช่น งานป้อนข้อมูล งานธุระการสำนักงาน

1.2. ผู้ใช้งานเชี่ยวชาญ

1.2.1. ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/ Computer Technican)

1.2.1.1. ชำนาญด้านทางเทคโนโลยีโดยเฉพาะ คอยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่อยงาน

1.2.2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)

1.2.2.1. วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ของหน่วยงาน ออกแบบกระบวนการทำงานของระบบโปรแกรมต่างๆ

1.2.3. นักเขียนโปรแกรม (Programmer)

1.2.3.1. ชำนาญเรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

1.2.4. วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineering)

1.2.4.1. วิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์โดยอาศัยหลัก การทางวิศวกรรมศาสตร์มาช่วย เช่น วัดค่าความ ซับซ้อนของซอฟต์แวร์ และหาคุณภาพของ ซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมา

1.2.5. ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก (Network Administrator)

1.2.5.1. ดูแลและบริหารระบบเครือขายคอมพิวเตอร์ เช่นการติดตั้งระบบเครือข่าย ควบคุมสิทธิของผู้ใช้

1.3. ผู้บริหาร

1.3.1. ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ (CIO : Chief Information Officer)

1.3.1.1. กำหนดทิศทางนโยบายและแผนทางคอมพิวเตอร์ทั้งหมด

1.3.2. หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/Information Technology Manager)

1.3.2.1. ดูแลและกำกับงานทางด้านคอมพิวเตอร์ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนงานและทิศทางที่ได้โดย CIO

2. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)

2.1. การนำข้อมูลเข้าจนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อได้ เรียกว่า สารสนเทศ ข้อมูลเหล่านี้เป็นได้ทั้งตัวเลข อักษร หรืออื่นๆ เช่น ภาพ เสียง โดยก่อนจะนำเข้าคอมพิวเตอร์จะต้องแปลงรูปแบบหรือสถานะให้คอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อน

2.2. สถานะแบบดิจิตอล อาศัยการประมวลผลโดยใช้ ระบบเลขฐานสอง หรือเรียกว่า Binary System เปิด คือ 1 และปิด คือ 0

3. พื้นฐานการทำงานของคอมพิวเตอร์

3.1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit)

3.1.1. หน่วยควบคุม (Control Unit) ควบคุมการทำงานของทุกๆหน่วยในซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วง

3.1.2. หน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit) คำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์ ว่าจริงหรือเท็จ

3.1.3. รีจิสเตอร์ (Register) พื้นที่สำหรับเก็บพักข้อมูลชุดคำสั่ง ผลลัพธ์ และข็อมูลที่เกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเพียงชั่วคราว

3.2. หน่วยความจำหลัก (Primary Storage)

3.2.1. รอม (ROM : Read Only Memory) หน่วยความจำที่อ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมไ้ด้ เก็บคำสั่งที่ใช้บ่อยหรือเฉพาะ จะอยู่กับเครื่องถาวรถึงแม้ไฟจะดับ

3.2.2. แรม (RAM : Random Access Memory) จำข้อมูลขณะที่ระบบกำลังทำงาน แก้ไขได้ตลอดเวลา หากไฟดับหรือปิดเครื่องข้อมูลจะหายไปทั้งหมด

3.3. หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage)

3.3.1. เก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์เพื่อเรียกมาใช้ภายหลังได้ เช่น ฮาร์ดดิสก์ CD/DVD

3.4. หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output Unit)

3.4.1. รับข้อมูลและคำสั่งเข้าสู่ระบบ เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และส่งต่อให้หน่วยประมวลผลกลาง เพื่อแปลงเป็นคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ แล้วแสดงผลทางจอภาพคอมพิวเตอร์

3.5. ทางเดินของระบบ (System Bus)

3.5.1. เส้นทางผ่านของสัญญาณอุปกรณ์ระหว่างหน่วยประมาลผลกลางและหน่วยความจำในระบบสามารถเชื่อมต่อกันได้

4. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

4.1. เป็นอุปกรณ์ที่จับต้องได้ มองเห็นเป็นรูปธรรม มีติดตั้งอยู่ทั้งในตัวเครื่อง (เช่น ซีพียู แรม)และภายนอก (เช่น เมาส์ จอภาพ)

5. ซอฟต์แวร์ (Software)

5.1. เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บรรจุคำสั่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ตามต้องการ ไม่สามารถจับต้องได้

5.2. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

5.2.1. เป็นระบบปฏิบัติการ ที่คอยควยคุมการทำงานของคอมพิใเตอร์โดยรวม ช่วยให้การทำงานที่เกี่ยวข้องราบรื่น ไม่ติดขัด

5.3. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

5.3.1. ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งในภายหลังจากที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการแล้ว ใช้กับงานเฉพาะ เช่น งานด้านเอกสาร

6. การนำข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์

6.1. ยุคแรกใช้บัตรเจาะรูเพื่อควบคุมลายทอผ้า

6.2. นำบัตรแบบใหม่มาประยุกต์ใช้มากขึ้น เช่น IBM 80 Column

6.3. พัฒนามาใช้สื่อแบบใหม่มากขึ้นจนถึงปัจจุบัน

6.4. การนำข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์

6.4.1. ผ่านอุปกรณ์นำเข้า (Input Device)

6.4.1.1. เป็นวิธีที่ง่าย นำเข้าโดยตรง ผ่านอุปกรณ์หลายชนิด เช่น คีย์บอร์ด ไมโครโหน

6.4.2. ผ่านสื่อเก็บบันทึกข้อมูลสำรอง (Secondary Storage)

6.4.2.1. ดึงข้อมูลที่บันทึกและเก็บไว้ก่อนแล้วโดยใช้ สื่อเก็บบันทึกข้อมูลสำรอง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แฟลชไดรว์ โดนอาศัยเครื่องอ่านโดยเฉพาะ

6.4.3. ผ่านทางเครือข่าย (Network)

6.4.3.1. ข้อมูลที่ได้จากอินเทอร์เน็ต เช่น ไฟล์บนคลาวด์เซิร์ฟเวอร์ หรือจากการแชร์มาจากอุปกรณ์อื่นๆ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์

7. กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ

7.1. ร้องขอบริการ (Service Requests)

7.2. สั่งการฮาร์ดแวร์ (Hardware Instructions)

7.3. ประมาลผลลัพธ์ (Processing Results)

7.4. สนองบริการ (Service Responses)

7.5. แสดงผลลัพธ์ (Program Output)