ปฏิบัติการที่1 ความร้อนของปฏิกิริยาเคมี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฏิบัติการที่1 ความร้อนของปฏิกิริยาเคมี by Mind Map: ปฏิบัติการที่1 ความร้อนของปฏิกิริยาเคมี

1. เครื่องมือที่ใช้ศึกษาเกี่ยวกับความร้อนที่เปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยาเรียกว่า "แคลอริมิเตอร์"

2. ความร้อนที่น้ำเย็นได้รับมีค่าน้อยกว่าความร้อนที่น้ำร้อนคายออกมานั่นคือ ความร้อนส่วนที่หายไปถูกถ่ายเทให้กับแคลอริมิเตอร์

3. ค่าความร้อนขของแคลอริมิเตอร์

3.1. H1=T1xCxW1 H2=T2xCxW2

3.2. ปริมาณความร้อนที่แคลอริมิเตอรืได้รับ =H1-H2

3.3. ค่าความจุความร้อนของแคลอริมิเตอร์= (H1-H2)/T2

4. ปฏิกิริยาสะเทิน

4.1. เป็นปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส ได้ผลิตภัณฑ์เป็นน้ำ

4.1.1. เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน

4.2. มี 2 ขั้นตอน

4.2.1. 1.ปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดและเบสในน้ำ;Hioniz

4.2.2. 2.ปฏิกิริยาระหว่างไฮโดรเจนไอออน และไฮดรอกไซด์ไอออน

4.2.2.1. H=-13.7 Kcal/mol

4.3. กรดแก่และเบสแก่แตกตัวเป็นไออนได้สมบูรณ์ทำให้ค่า H =0

5. การทดลอง

5.1. สารเคมี

5.1.1. 5M HCl

5.1.2. 5M NaOH

5.2. อุปกรณ์

5.2.1. เทอร์โมมิเตอร์ขนาด 100องศาเซลเซียล

5.2.2. แท่งกวนแบบวงแหวน

5.2.3. ถ้วยพลาสติกหุ้มโฟม

5.2.4. บีกเกอร์ขนาด 400และ 50ลบ.ซม.

5.2.5. ปิเปต ขนาด 1 ลบ.ซม.

6. วัตถุประสงค์

6.1. 1.เพื่อหาค่าความร้อนของแคลอริมิเตอร์

6.2. 2.เพื่อหาค่าความร้อนของปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดแก่กับเบสแก่

7. แคลอริมิเตอร์

7.1. เป็นการศึกาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความร้อน

7.1.1. 1.ปฏิกิริยาคายความร้อน

7.1.1.1. UและHจะเป็นค่า -

7.1.2. 2.ปฏิกิริยาดูดความร้อน

7.1.2.1. UและHจะเป็นค่า +

8. การวัดปริมารความร้อนของปฏิกิริยา

8.1. 1.กำหนดปริมาตรคงที่

8.1.1. ปริมารความร้อนที่วัดได้=U

8.1.1.1. U=พลังงานภายในของระบบที่เปลี่ยนแปลง

8.2. 2.กำหนดความดันคงที่

8.2.1. ปริมาณความร้อนที่วัดได้=H

8.2.1.1. H=ค่าเอนทาลปีของระบบที่เปลี่ยนแปลง

9. ค่าสมมูลของน้ำของแคลอริมิเตอร์

9.1. ปริมาณความร้อนที่ทำให้แคลอริมิเตอร์ที่ใช้ในการทดลองมีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศา

10. วิธีการทดลอง

10.1. ตอนที่1 การหาค่าความร้อนจำเพาะของแคลอริมิเตอร์

10.2. ตอนที่2 หาค่าความร้อนจากปฏิกิริยาสะเทิน

10.3. ตอนที่3 การหาความเข้มข้นของกรดแก่