ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2 เรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายและความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2 เรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายและความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ by Mind Map: ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2 เรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายและความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

1. วัตถุประสงค์

1.1. 1.เพื่อหาค่าคงที่ผลคูณการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

1.1.1. New node

1.2. 2.เพื่อศึกษาอิทธิพลของไอออนร่วมที่มีต่อสมดุลการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

2. สารเคมี

2.1. 1.สารละลายอิ่มตัวของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ เตรียมโดยการละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ 3 กรัม ในน้ำ 1 ลิตร

2.2. 2.สารละลายกรดเกลือเจือจางความเข้มข้น .01 โมลต่อลิตร

2.3. 3.สารละลายฟินอล์ฟธาลีน

2.4. 4.ผงแคลเซียมคลอไรด์

3. บทนำ

3.1. สารละลายอิ่มตัวของสารประกอบไอออนิกใดๆที่ละลายน้ำได้น้อยจะเกิดการสมดุลระหว่าง เกลือส่วนที่ละลายซึ่งจะแตกตัวเป็นไอออนหมด กับที่อยู่ในรูปของของแข็งอยู่ในสารละลาย

3.2. ในสารละลายเกลือที่ละลายน้ำได้น้อยมีค่าเท่ากับผลคูณของความเข้มข้นของไอออน(หน่วยเป็น โมลต่อลิตร) แต่ละชนิดยกกำลังด้วย สปส.จำนวนโมลของไอออนนั้น

4. เครื่องมือและอุปกรณ์

4.1. 1.ขวดรูปชมพู่

4.1.1. New node

4.2. 2.บิวเรต

4.3. 3.กรอยแก้วและกระดาษกรอง

4.4. 4.ปิเปต

4.5. 5.บีกเกอร์

4.6. 6.กระบอกตวง

5. การทดลอง

5.1. ตอนที่1

5.1.1. โดยการเติมผงแคลเซียมไฮดรอกไซด์ 3 กรัม ในน้ำ 1 ลิตร กวนแล้วตั้งทิ้งไว้ให้ตะกอนนอนก้น

5.2. ตอนที่2 การหาความสามารถในการละลายหรือการละลายได้ของแคลเซียมไฮดรอกไซด์และความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ในสารละลายอิ่มตัวแคลเซียมไฮดรอกไซด์

5.2.1. บรรจุสารละลายมาตรฐานกรดเกลือลงในบิวเรต

5.2.2. ปิเปตสารละลายใสจากตอนที่1มาใส่ขวดรูปชมพู่2ใบๆละ5ลบ.ซม. เติมน้ำกลั่นขวดละ25ลบ.ซม.

5.2.3. เติมฟินอล์ฟธาลีนอินดิเคเตอร์ลงไป 1 หยด

5.2.4. ไทเทรตสารละลายแต่ละขวดด้วยสารละลายมาตรฐานกรดเกลือเจือจางที่เตรียมไว้แล้วในบิวเรต เมื่อถึงจุดยุติ สารละลายซึ่งเดิมมีสีชมพู จะเปลี่ยนเป็นสารละลายใส

5.2.5. บันทึกปริมาตรสารละลายมาตรฐานกรดเกลือที่ใช้ไทเทรตสารละลายในขวดรูปชมพู่แต่ละใบแล้วคำนวณหาความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ในสารละลายอิ่มตัว

5.3. ตอนที่3

5.3.1. 1.ปิเปตสารละลายที่กรองได้ในตอนที่1มา50ลบ.ซม.ใส่ในขวดชมพู่ เติมแคลเซียมคลอไรด์ลงไป 0.50 กรัม แกว่งขวดไปมา สังเกตผล จะมีตะกอนแวนลอยอยู่ จากนั้นกรองตะกอนเอาแต่ส่วนที่ใสออกมา

5.3.2. 2.เปรียบเทียบความเข้มข้นของไอออนแต่ละชนิดเมื่อมีการเติมแคลเซียมคลอไรด์และเมื่อไม่มีการเติม