อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี by Mind Map: อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

1. อุปกรณ์และสารเคมี

1.1. โพแทสเซียมไอโอไดด์ 0.200M

1.2. แอมโมเนียมเปอร์ซัลเฟต 0.100M

1.3. โพแทสเซียมคลอไรด์ 0.200M

1.4. แอมโมเนียมซัลเฟต 0.100 M

1.5. โซเดียมไทโอซัลเฟต 0.005 M

1.6. น้ำแป้ง 1%

1.7. คอปเปอร์(||) ซัลเพฃฟต 0.1 M

1.8. ปิเปตขนาด 10 ลบ.ซม.

1.9. ขวดรูปชมพู่

1.10. เทอร์โมมิเตอร์

1.11. นาฬิกาจับเวลา

2. วิธีการทดลอง

2.1. ตอนที่1 ผลของความเข้มข้น ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา และการหากฎอัตรา

2.2. ตอนที่2 ผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา และหาค่าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา

2.3. ตอนที่3 ผลของตัวเร่ง

3. วัตถุประสงค์

3.1. เพื่อศึกษาการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

3.2. เพื่อหากฎอัตราของปฏิกิริยาระหว่างไอออนเปอร์ออกซิไดซัลเฟตและไอออนไอโอไดด์

3.3. เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาและหาค่าพลังงงานกระตุ้นของปฏิกิริยา

3.4. เพื่อศึกษาผลของารตัวเร่ง

4. หลักการ

4.1. จลนพลศาสตร์ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา และกลไกลการเกิดปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาวัดได้จากการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่อหน่วยเวลา นิยมวัดเป็นหน่วย โมล/ลิตร ต่อวินาที

4.2. ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา

4.2.1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น

4.2.2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น

4.2.3. อุณหภูมิ

4.2.4. ตัวเร่ง

4.3. สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเข้มข้นของสารตั้งต้น

4.3.1. Rate= ค่าคงที่คูณด้วยผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นยกกำลังด้วยอันดับของปฏิกิริยา