ปฏิบัติการเรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยา(Reaction Rates)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฏิบัติการเรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยา(Reaction Rates) by Mind Map: ปฏิบัติการเรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยา(Reaction Rates)

1. วัตถุประสงค์

1.1. เพื่อหากฎอัตราของปฏิกิริยา

1.2. เพื่อผลของอุณหภูมิและพลังงานกระตุ้นที่มีต่ออัตราของปฏิกิริยา

1.3. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา

2. สารเคมี

2.1. โพแทสเซียมไอโอไดด์

2.2. คอปเปอร์(II)ซัลเฟต

2.3. โซเดียมไทโอซัลเฟต

2.4. แอมโมเนียมซัลเฟต

2.5. โพแทสเซียมคลอไรด์

2.6. แอมโมเนียมเปอร์ซัลเฟต

2.7. น้ำแป้ง

3. อุปกรณ์

3.1. ปิเปต(pipette)

3.2. เทอร์โมมิเตอร์

3.3. ขวดรูปชมพู่

3.4. นาฬิกาจับเวลา

4. หลักการ

4.1. จลนพลศาสตร์(chemmical kinetics )

4.2. เป็นการศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา(reaction rate)

4.3. กลไกลการเกิดปฏิกิริยา (reaction mechamism)

5. ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา

5.1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น

5.2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น

5.3. อุณหภูมิ

5.4. ตัวเร่ง(catalyst)

6. วิธีทดลอง

6.1. ตอนที่ 1 ผลของความเข้มข้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา และการหากฎอัตรา

6.2. ผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา และหาค่าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา

6.3. ผลของตัวเร่ง