เครื่องดนตรี พื้นเมืองอีสาน "แคน"

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เครื่องดนตรี พื้นเมืองอีสาน "แคน" by Mind Map: เครื่องดนตรี พื้นเมืองอีสาน "แคน"

1. วิธีการเล่น

1.1. ท่าทาง

1.1.1. ยืนเป่า หรือ นั่งเป่า

1.2. fingering

1.2.1. ลักษณะการวางนิ้วแคนแปด

1.2.2. การใช้นิ้วปิดรูแคน

1.2.3. การใช้นิ้วปิดรูแคน

1.2.4. โน้ตแคน

1.3. เทคนิค

1.3.1. ใช้มือ 2 ข้างจับ เต้าแคนให้แน่น ในอุ้งมือ และใช้นิ้วปิดรูให้สนิท

2. การสร้าง

2.1. ทำจากไม้ตระกูลไม้ไผ่

2.1.1. ไม้กู่แคน

2.1.2. ไม้ซาง

2.2. แหล่งไม้

2.2.1. มีมากในเทือกเขาภูพวน

2.2.2. แถบจังหวัดร้อยเ็อ็ด

2.2.3. แถบจังหวัดนครพนม

2.2.4. ฝั่งประเทศลาว

2.2.5. ภาคเหนือของไทย

3. ขนบ

3.1. ค่านิยม

3.1.1. นิยมเป่ามากในขอนแก่น

3.1.2. ทำแคนประกอบอาชีพ

3.2. ความเชื่อ

3.2.1. ตำนานแคนเรื่องหญิงหม้าย

4. คำศัพท์

4.1. แม่ก้อยซ้าย / ขวา

4.2. ก้อยซ้าย / ขวา

4.3. แม่แก่

4.4. แม่ก้อย

4.5. แม่เวียง

4.6. แม่แซ

4.7. เสพซ้าย /ขวา

4.8. โป้ซ้าย / ขวา

4.9. ฮับทุ่ง

4.10. สะแนน

4.11. เต้าแคน

4.12. ปากเป่า

5. เพลง

5.1. บรรเลง

5.1.1. เพื่อความสนุกสนาน

5.1.2. ประกอบพิธีกรรม

5.1.3. ประกอบหมอลำกลอน

5.2. โอกาส

5.2.1. เป่าประกอบการแสดง

5.2.1.1. แคนวง

5.2.1.2. วงโปงลาง

5.2.1.3. วงดนตรีพื้นเมือง

5.2.2. ประกอบพิธีกรรม

5.2.2.1. รำผีฟ้า

5.2.2.2. รำภูไท

6. การสร้างสรรค์

6.1. ประยุกต์

6.1.1. เล่นร่วมกับเครื่องดนตรีอีสานอื่นๆ

6.1.2. เล่นร่วมกับเครื่องดนตรีสากล จำพวก กีตาร์ไฟฟ้า เป็นต้น

7. ความเป็นมา

7.1. เครื่องดนตรีพื้นเมือง มรดกเก่าแก่ที่สุดของภาคอีสาน

7.2. หลักฐานด้านโบราณคดี

7.2.1. เครื่องดนตรีประเภทนี้ เคยมีอยู่แล้วในจีน

7.3. หลักฐานด้านวรรณคดี

7.3.1. พบว่ามีแคนอยู่ในวรรณคดี เช่น ท้าวฮุ่งท้าวเจือง ท้าวก่ำกาดำ

7.4. มี 4 ประเภท

7.4.1. แคนหก

7.4.2. แคนเจ็ด

7.4.2.1. นิยมเป่าเป็นแคนวง

7.4.3. แคนแปด

7.4.3.1. แคนประจำหมอลำ

7.4.3.2. เหมาะสำหรับเป่าเดี่ยว

7.4.3.3. รำภูไทเรณู

7.4.4. แคนเก้า

7.4.4.1. รำหมากกับแก้ม

7.4.5. New node