Knowledge Management

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Knowledge Management by Mind Map: Knowledge Management

1. Organizational KM

1.1. สร้างค่านิยมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของพนักงาน ใ้ห้เป็นคนใฝ่รู้และร่วมแบ่งปันความรู้กับผู้อื่น

1.1.1. คนกล้า 5 ประการ

1.1.1.1. กล้าเปิดใจรับฟัง (Open Minded)

1.1.1.2. กล้าคิดนอกกรอบ (Thinking out of the Box)

1.1.1.3. กล้าพูดกล้าทำ (Assertive)

1.1.1.4. กล้าเสี่ยง กล้าริเริ่ม (Risk Taking)

1.1.1.5. กล้าเรียน ใฝ่รู้ (Eager to Learn)

1.1.2. ผู้นำ 3 ประการ

1.1.2.1. นำการเปลี่ยนแปลง (Leader)

1.1.2.2. สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง (Facilitator)

1.1.2.3. ทำตัวเป็นแบบอย่าง (Role Model)

1.2. สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้ก้าวไปสู่ Learning Organization

1.2.1. The Fifth Discipline

1.2.1.1. Personal Mastery

1.2.1.2. Mental Models

1.2.1.3. Shared Vision

1.2.1.4. Team Learning

1.2.1.5. Systematic Thinking

1.3. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในที่ทำงาน ให้เอื้ออำนวยต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

1.3.1. จัดผังที่นั่งทำงานใหม่

1.3.2. จัด Zone แลกเปลี่ยนเรียนรู้

1.3.3. Mobile Office / Smart Office

1.4. สร้างระบบมาตรฐานในการทำงาน

1.4.1. ระบบ ISO

1.4.1.1. จัดทำ Procedure Manual

1.4.1.2. จัดทำ Work Instruction

1.4.1.3. Internal Audit

1.4.1.4. จดบันทึก

1.5. จัดกิจกรรมที่สนับสนุนให้พนักงานใฝ่เรียนรู้ มีการการแบ่งปันหรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพนักงานและส่งเสริมให้มีการนำความรู้ไปใช้

1.5.1. Book Briefing

1.5.2. Show & Share

1.5.3. Innovation Award

1.5.4. Idea Tank / Idea Time

1.5.5. Eager to Learn

1.6. จัดโครงสร้างทางสังคมให้เอื้ออำนวยต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน

1.6.1. CoP (Community of Practice)

1.6.2. กลุ่มวิชาชีพต่างๆ

1.6.2.1. Marketing

1.6.2.2. Production

1.6.2.3. Accounting

1.6.2.4. HR

1.6.2.5. Procurement

1.6.2.6. สารบรรณและเลขานุการ

1.6.3. Constructionism

1.6.3.1. C-Cement

1.6.3.2. C-ChEPS

1.6.3.3. C-Pulp

1.6.3.4. C-Distribution

1.6.3.5. C-Building

1.6.4. Cell Management

1.6.5. Inno Facilitators

1.7. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในการจัดการความรู้

1.7.1. สร้าง Infrastructure

1.7.1.1. Intranet

1.7.1.2. E-Mail

1.7.1.3. Web Broadcasing

1.7.1.4. Web Conference

1.7.2. สร้าง Knowledge Database

1.7.2.1. KM Web Portal

1.7.2.1.1. http://km.cementhai.co.th

1.7.2.2. Search Engine

1.7.3. สร้าง KM Tools

1.7.3.1. Knowledge Capturing Tool

1.7.3.1.1. Video Streaming Capture

1.7.3.1.2. Screen Capture

1.7.3.1.3. E-Book

1.7.3.2. Knowledge Sharing Tool

1.7.3.2.1. Webboard

1.7.3.2.2. Blog

1.7.3.2.3. Chat

1.7.3.2.4. Wiki

1.7.3.2.5. Video Clip Sharing

1.7.3.3. Knowledge Mapping Tool

1.7.3.4. E-Learning

1.7.3.4.1. Learning Management System (LMS)

1.7.3.4.2. Content Management System (CMS)

1.7.3.4.3. E-Classroom

1.7.3.4.4. Blended Learning

1.7.3.5. Community of Practice

1.7.3.5.1. E-CoP

1.8. พัฒนาพนักงาน

1.8.1. Foundamental Knowledge

1.8.1.1. Orientation

1.8.1.1.1. TQM/Safety

1.8.2. Functional Knowledge

1.8.2.1. Training Roadmap

1.8.2.2. IDP - Individual Development Program

1.8.3. Business Knowledge

1.8.3.1. ABC

1.8.3.1.1. BCD

1.8.4. Leadership Skill

1.8.4.1. LDP I

1.8.4.1.1. LDP II

1.8.5. General Management

1.9. Talent Management

1.9.1. Career Management

1.9.2. Succession Planning

1.9.3. Development

1.9.3.1. Scholarship

1.9.3.2. Training

2. KM Strategic Model

2.1. Individual KM

2.1.1. สำรวจตัวเอง

2.1.1.1. ประเมิน Competency

2.1.1.1.1. จัดทำ IDP (Individual Development Program)

2.1.2. พัฒนาตัวเอง

2.1.2.1. ปรับเปลี่ยนทัศนคติให้เข้ากับสังคมแห่งการใฝ่รู้และแบ่งปัน

2.1.2.2. Knowledge Mapping

2.1.2.2.1. ความรู้ที่องค์กรต้องการ มีอยู่ที่ใครบ้าง

2.1.2.2.2. พนักงานแต่ละคน มีความรู้อะไรบ้างที่องค์กรต้องการ

2.1.2.2.3. องค์กรต้องการความรู้อะไรบ้างเพื่อสนับสนุนกลยุทธ์ขององค์กร

2.1.2.2.4. องค์กรยังขาดความรู้อะไรบ้าง

2.1.2.2.5. จะต้องรับสมัครพนักงานใหม่ที่มีความรู้อะไรบ้าง

2.1.2.3. แสวงหาความรู้

2.1.2.3.1. เป็นทางการ

2.1.2.4. ไม่เป็นทางการ

2.1.2.4.1. เรียนรู้ด้วยตนเอง

2.1.2.4.2. จะต้องพัฒนาพนักงานแต่ละคนอย่างไรบ้าง

2.1.2.4.3. เรียนรู้จากคนอื่น

2.1.3. นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

2.1.3.1. ในฐานะผู้บังคับบัญชา

2.1.3.1.1. Put the right man on the right job

2.1.3.1.2. ให้คำปรึกษา/สอนงาน/แนะนำแหล่งความรู้ให้

2.1.3.1.3. พัฒนาพนักงานให้มีความรู้ความสามารถตามที่องค์กรต้องการ

2.1.3.2. ในฐานะพนักงาน

2.1.3.2.1. สืบค้นหาความรู้จาก Knowledge Database

2.1.3.2.2. นำความรู้หรือวิธีการที่ดีอยู่แล้วมาใช้ซ้ำ

2.1.3.2.3. คิดค้นหรือต่อยอดความรู้ใหม่ให้ดียิ่งขึ้น

2.1.3.2.4. จดบันทึก

2.1.3.2.5. ช่วยเหลือเพื่อนพนักงานในทุกโอกาส

2.2. แบ่งปันความรู้ให้ผู้อื่น

2.2.1. นำเสนอความรู้ที่จดบันทึกไว้ผ่านระบบ KM

2.2.2. เล่าเรื่องประสบการณ์ผ่าน Blog

2.2.3. ร่วมตอบคำถามใน Webboard

2.2.4. เข้าร่วมกิจกรรมที่องค์กรจัดขึ้น

2.2.4.1. กิจกรรม Show & Share

2.2.4.2. กิจกรรม Book Briefing

2.2.4.3. กิจกรรม Eager to Learn

2.2.4.4. กิจกรรม Idea Tank

2.2.4.5. กิจกรรม Inno Award

3. Introduction

3.1. ความหมาย

3.1.1. การจัดการ

3.1.1.1. การดำเนินการที่ไม่ปล่อยให้สิ่งที่อยู่ในความรับผิดชอบเป็นไปตามธรรมชาติ

3.1.2. KM

3.1.2.1. แสวงหา/นำความรู้ที่มีอยู่มาใช้ซ้ำหรือต่อยอดเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองหรือองค์กร

3.1.2.2. วิธีการใดก็ตามที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนางานขององค์กรหรือของตน  โดยผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

3.2. ความสำคัญของ KM

3.2.1. ธุรกิจที่แสวงหากำไร

3.2.1.1. ต้องการชนะคู่แข่งขัน

3.2.1.2. ต้องการทำให้ลูกค้าพึงพอใจ

3.2.1.3. ต้องการผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ

3.2.1.4. ต้องการลดต้นทุน

3.2.1.5. ต้องการสร้างความมั่งคั่งให้ผู้ถือหุ้น

3.2.1.6. ต้องการพัฒนาพนักงานให้มีความสามารถ

3.2.2. ธุรกิจที่ไม่แสวงหากำไร

3.2.2.1. ต้องการเก็บรวบรวมความรู้มิให้รั่วไหล

3.2.2.2. ต้องการสร้างองค์ความรู้ใหม่

3.2.2.3. ต้องการทำภารกิจให้บรรลุวิสัยทัศน์

3.2.2.4. ต้องการสร้างผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพ

3.2.2.5. ต้องการสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้บริการ

3.3. ทำไมต้องมีการจัดการความรู้ ในองค์กร

3.3.1. ปัจจัยภายนอกองค์กร

3.3.1.1. ปัจจุบันเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็วมาก

3.3.1.2. คู่แข่งต่างตื่นตัวในการพัฒนตนเอง

3.3.1.3. ผู้ที่ชนะในการแข่งขันคือ ผู้ที่มีความรู้มากกว่าและเร็วกว่า

3.3.2. ปัจจัยภายในองค์กร

3.3.2.1. เรามักจะทำผิดซ้ำซากในสิ่งเดิมๆ

3.3.2.2. ปัญหาสมองไหล

3.3.2.3. มี Best Practice มากมายแต่ไม่นำมาใช้ประโยชน์

3.3.2.4. เรามักจะคิดใหม่ทำใหม่อยู่เสมอ

3.4. สาเหตุที่ทำให้คนเรายอมที่จะถ่ายทอดความรู้ของตนให้แก่ผู้อื่น

3.4.1. ความไว้วางใจ

3.4.2. ความรักใคร่สนิทสนม

3.4.3. ผลประโยชน์

3.5. อะไรบ้างที่เรียกว่าเป็น "ความรู้" ที่ต้องนำมาจัดการ

3.5.1. ความรู้ที่ตอบสนองกลยุทธ์ขององค์กร

3.5.2. Core Competency

3.5.3. ความรู้ที่สร้างความแตกต่างจากคู่แข่งขัน

3.5.4. ความสามารถที่ทำให้ลูกค้าพึงพอใจ

3.5.5. ความรู้ที่ช่วยแก้ไขปัญหาจากการทำงาน

3.5.6. นวัตกรรมต่างๆ

3.6. กิจกรรมอะไรบ้างที่ถือว่าเป็น "การจัดการความรู้"

3.6.1. ระบบ ISO

3.6.2. การบริหารงานแบบ Cell Management

3.6.3. การสร้าง Community of Practice

3.6.4. การบันทึกความรู้

3.6.4.1. การบันทึก Lesson Learned

3.6.4.2. การบันทึก After Action Review

3.6.4.3. การเขียน Case Study

3.6.5. การใช้ประโยชน์จาก Best Practice

3.6.6. การจัดทำ Knowledge Mapping

3.6.7. การนำ IT มาใช้ในการจัดการความรู้

3.6.8. กิจกรรมใดๆ ที่สนับสนุนให้พนักงานใฝ่รู้และแบ่งปัน

4. test kriengsak