การสัมภาษณ์ประวัติสุขภาพ

Track and organize your meetings within your company

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การสัมภาษณ์ประวัติสุขภาพ by Mind Map: การสัมภาษณ์ประวัติสุขภาพ

1. ส่วนประกอบของประวัติสุขภาพ

1.1. 1.ข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วย Initial information

1.1.1. ชื่อ-นามสกุล

1.1.2. อายุ เพศ สถานภาพการสมรส

1.1.3. เชื้อชาติ ศาสนา

1.1.4. สถานที่อยู่ สถานที่เกิด

1.1.5. อาชีพ และลักษณะงานที่ทำ

1.1.6. ที่อยู่

1.1.7. อื่นๆ

1.2. 2.อาการสำคัญ Chief complaint

1.2.1. อาการสำคัญ หมายถึง อาการนำหรือความรู้สึกของผู้ป่วยที่เป็นสาเกตุที่ทำให้ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลเพื่อพบแพทย์ หรือ เหตุผลที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์ โดยครอบคลุมถึงเวลาที่เริ่มมีอาการจนมาพบแพทย์

1.2.2. คำถามที่ใช้ค้นหาอาการสำคัญ -ไม่สบายเป็นอะไรถึงมาหาหมอ -เป็นมานานเท่าใดแล้ว

1.3. 3.ประวัคิความเจ็บป่วยปัจจุบัน

1.3.1. ตำแหน่งของอาการ Site and radiation

1.3.2. เวลาของการเกิดโรค Timing

1.3.2.1. เวลาเริ่มต้นของอาการ Onset

1.3.2.2. ระยะเวลาที่อาการเป็นอยู่ Duration

1.3.2.3. ความถี่หรือความสม่ำเสมอของอาการ Frequency

1.3.3. ลักษณะ แบบแผนของอาการนั้น

1.3.4. ความรุนแรงของอาการ

1.3.5. ปัจจัยอะไรที่ทำให้อาการเป็นน้อยลง

1.3.6. ปัจจัยอะไรที่ทำให้อาการเป็นมากขึ้น

1.3.7. อาการอื่นที่เกิดร่วม

1.4. 4.ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต Past illness

1.4.1. PI หมายถึง ประวัติการเจ็บป่วยในครั้งก่อน ๆ ของผู้ป่วย ตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งถึงครั้งสุดท้ายก่อนการเจ็บป่วยในปัจจุบัน

1.5. 5.ประวัติครอบครัว Family history

1.5.1. จำนวนพี่น้องของผู้ป่วย รวมทั้งโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสมาชิกของครอบครัว

1.5.2. ญาติในครอบครัวที่เสียชีวิตควรถามด้วยว่าจากสาเหตุใดและโรคติดเชื้ออื่นๆ

1.6. 6.ประวัติส่วนตัวและสังคม Personal history

1.6.1. สุขนิสัยประจำวัน

1.6.2. การศึกษาอาชีพ

1.6.3. สถานภาพทางครอบครัว

1.6.4. บุคลิกภาพ

1.6.5. สิ่งแวดล้อมที่อาศัย ที่ทำงาน

1.7. 7.ประวัติอาการตามระบบต่างๆ Review of systems

1.7.1. ประวัติอาการตามระบบเป็นข้อมูลสุขภาพที่เกิดจากการถามทบทวนอาการในระบบต่างๆ ของผู้ป่วยตั้งแต่ศรีษะจรดเท้า

1.7.2. มีประโยชน์ช่วยเก็บข้อมูลที่อาจตกหล่นระหว่างการซักประวัติข้างต้น

1.7.3. ประวัติอาการตามระบบเป็นผลที่เกิดขึ้นจากการซักประวัติ ไม่ใช้จากการตรวจร่างกาย

2. ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของการสัมภาษณ์ประวัติสุขภาพ

2.1. ด้านบุคคลกรทางการแพทย์

2.2. ด้านผู้ป่วยและญาติ

2.3. ด้านสภาพแวดล้อม

3. ขั้นตอนและเทคนิคการสัมภาษณ์ประวัติ

3.1. ขั้นตอน

3.1.1. ขั้นตอนการสร้างความสัมพันธ์และความคุ้นเคยกับผู้ป่วย

3.1.2. ขั้นตอนการสัมภาษณ์ประวัติเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลปัญหาของผู้ป่วย

3.2. เทคนิค

3.2.1. เทคนิคการเงียบ Silence

3.2.2. เทคนิคการพูดเสริม :acilitation

3.2.3. เทคนิคกรทำให้กระจ่าง clarification

3.2.4. เทคนิคการกล่าวซ้ำ Restatement

3.2.5. เทคนิคการเผชิญหน้า Confrontation

3.2.6. เทคนิคการพูดสนับสนุน Support

4. สรุปขั้นตอนการซักประวัติ

4.1. ให้การต้อนรับผู้ป่วยและผู้ใกล้ชิดด้วยท่าทีเป็นมิตร ทักทาย เอาใจใส่ บอกวัตถุประสงค์ของการพูดคุย

4.2. สัมภาษณ์ในสถานที่สงบ เป็นส่วนตัว

4.3. เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเล่าปัญหาสุขภาพของตนเอง

4.4. ซักถามประวัติเพิ่มเติมในส่วนที่ขาด หรือยังไม่ชัดเจน พอที่จะนำไปวินิจฉัย

4.5. บันทึกและประเมินรายละเอียดประวัติที่ได้เรียงลำดับก่อนหลัง

4.6. ซักรายละเอียดของอาการสำคัญ (ประวัติปัจจุบัน)โดยใช้คำถามปลาย เปิดเพื่อนตอนคำถาม