Chap1: What is Psychology?

mind map chapter1 of General Psychology

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Chap1: What is Psychology? by Mind Map: Chap1: What is Psychology?

1. ประวัติการศึกษาจิตวิทยา

1.1. ยุคแรก

1.1.1. ยุคการตรวจวิเคราะห์จิต

1.1.1.1. เปิดห้องทดลองทางจิตครั้งแรก

1.1.1.1.1. วิลเฮล์ม วุนดท์

1.1.1.1.2. ใช้วิธีการตรวจวิเคราห์จิต (Introspection)

1.1.1.1.3. เน้นด้านประสาทสัมผัส (การเห็นและกระบวนการจิตสำนึก

1.1.1.2. กลุ่มโครงสร้างของจิต

1.1.1.2.1. ทิชเชเนอร์

1.1.1.2.2. จิตธาตุ

1.1.1.2.3. ใช้วิธีการตรวจวิเคราห์จิต (Introspection)

1.1.1.3. กลุ่มการหน้าที่ของจิต

1.1.1.3.1. วิลเลียม เจมส์

1.1.1.3.2. สนใจเรื่องการกระทำของจิต>สิ่งที่จิตมี

1.1.2. กลุ่มจิตวิเคราะห์

1.1.2.1. ชิกมันด์ ฟรอยด์

1.1.2.2. จิตเป็นพลังงาน เรียกว่า พลังจิต

1.1.2.2.1. จิตสำนึก

1.1.2.2.2. จิตกึ่งสำนึก

1.1.2.2.3. จิตไร้สำนึก

1.1.2.3. ใช้วิธี free association

1.1.3. กลุ่มเกสตัลท์

1.1.3.1. แมกซ์ เวอร์ไทเมอร์

1.1.3.2. ส่วนรวมสำคัญกว่าส่วนย่อย

1.1.3.3. ทฤษฎีสนาม

1.2. ยุคกลุ่มพฤติกรรมเฟื่องฟู

1.2.1. จอห์น บี วัตสัน

1.2.2. สนใจศึกษาพฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้

1.2.3. ใช้สัตว์ทดลอง -> กลุ่มสัตว์นิยม

1.3. ยุคปัจจุบัน

1.3.1. กลุ่มจิตวิทยาการรู้คิด

1.3.1.1. ได้อิทธิพลจากกลุ่มเกสตัลท์

1.3.1.2. แนวคิดด้านการประมวลข้อมูลข่าวสาร

1.3.1.3. เชื่อว่ามนุษย์มีปัญญา สนใจแสวงหาความรู้

1.3.2. กลุ่มมนุษย์นิยม

1.3.2.1. อับราฮัม มาสโลว->ทฤษฎีลำดับขั้น

1.3.2.2. มนุษย์มีลักษณะเฉพาะที่จะถูกเร้าให้พยายามค้นหาศักยภาพ

1.3.3. กลุ่มชีวจิตวิทยา

1.3.3.1. พฤติกรรมที่เกิดสัมพันธ์กับกระบวนการทำงานของร่างกาย

1.3.3.2. รวบรวมความคิดของกลุ่มต่างๆมาผสมกัน

1.3.3.3. เรียกนักจิตวิทยากลุ่มนี้ว่า Ecletic Psychologist

1.3.4. กลุ่มสังคมวัฒนธรรม

1.3.4.1. คนมีสังคมสัฒนธรรม เลยมีความเชื่อที่ต่างกัน

2. ความหมาย

2.1. การศึกษาพฤติกรรมและกระบวนการทำงานของจิตอย่างเป็นระบบ

3. พฤติกรรม

3.1. พฤติกรมมภายใน

3.2. พฤติกรรมภายนอก

3.3. พฤติกรรมติดตัว

3.4. พฤติกรรมเรียนรู้

4. จุดมุ่งหมายในการศึกษาวิชาจิตวิทยา

4.1. ให้เข้าใจพฤติกรรม&กระบวนการของจิต

4.2. ทำนายพฤติกรรมมนุษย์

4.3. ควบคุมพฤติกรรมมนุษย์

5. จิตวิทยาพื้นฐาน

5.1. จิตวิทยาการทดลอง

5.2. จิตวิทยาเปรียบเทียบ

5.3. สรีรจิตวิทยา/ชีวจิตวิทยา

5.4. จิตวิทยาพัฒนาการ

5.5. จิตวิทยาสังคม

6. จิตวิทยาประยุกต์

6.1. จิตวิทยาการศึกษา

6.2. จิตวิทยาโรงเรียน

6.3. จิตวิทยาอุตสากกรรม/องค์การ

6.4. จิตวิทยาวิศวกรรม

6.5. จิตวิทยาสภาพแวดล้อม

6.6. จิตวิทยาชุมชน

6.7. จิตวิทยาคลีนิก

6.8. จิตวิทยาการปรึกษา