หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพการศึกษา

马上开始. 它是免费的哦
注册 使用您的电邮地址
หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพการศึกษา 作者: Mind Map: หน่วยที่ 10  การประกันคุณภาพการศึกษา

1. ตอนที่ 1 หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา

1.1. คุณภาพและการประกันคุณภาพ

1.1.1. คุณภาพ หมายถึง เกี่ยวกับความดีเลิศ การมีประสิทธิภาพ การได้มาตรฐานตามวตัถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยคำนึงถึงความต้องการหรือความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ทั้งยังต้องมีการพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

1.1.2. การประกันคุณภาพ คือ การวางแผนและการปฏิบัติของหน่วยผลิตที่มุ่งจะผลิตสิ่งที่ มีคุณภาพตรงกับความต้องการของผู้ใช้ผลผลิต ซึ่งการดำเนินการประกันคุณภาพเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง เน้นการป้องกันและการตรวจสอบ

1.2. ระบบคุณภาพและการบริหารคุณภาพ

1.2.1. ระบบคุณภาพ เป็นระบบที่ทำให้เห็นถึงแนวทางปฏิบัติที่จะนำไปสู่ผลผลิตที่มี คุณภาพ เป็นการรวมสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมีกัษณะซับซ้อนให้ประสานเป็นหนึ่งเดียว โดยมีองคป์ระกอบที่สำคัญ คือ การวางแผนคุณภาพ การควบคุมคุณภาพและการปรับปรุงคุณภาพ

1.2.1.1. ระบบคุณภาพมีองค์ประกอบหลัก 3 ประการ ประกอบดว้ย การวางแผนคุณภาพ การ ควบคุมคุณภาพและการปรับปรุงคุณภาพ

1.2.2. การบริหารคุณภาพ เป็นการจัดการระบบคุณภาพ โดยทุกคนที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก องค์การรับผิดชอบต่องานที่ตนเองกระทำอย่างเต็มที่ เพื่อให้สินค้าและบริการเป็นไปตามความต้องการของลูกค้า

1.2.2.1. หลักการในการดำเนินการบริหารจัดการคุณภาพ องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ (international standard organization) ได้กำหนดหลักการ เกี่ยวกับการบริหารจดัการคุณภาพไว ้ 8 ประการ ประกอบด้วย

1.2.2.1.1. 1. การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ (customer focus)

1.2.2.1.2. 2. ภาวะผู้นำ (leadership)

1.2.2.1.3. 3. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์การ (involvement of people)

1.2.2.1.4. 4. การเน้นกระบวนการ (process approach)

1.2.2.1.5. 5. การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ (system approach to management)

1.2.2.1.6. 6. การปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (continual improvement)

1.2.2.1.7. 7. การตัดสินใจบนฐานของข้อเท็จจริง (factual approach to decision making)

1.2.2.1.8. 8. ความสัมพนัธ์เชิงพึ่งพากันกับผู้ส่งมอบผลิตภัณฑ์ (mutually beneficial supplier relationships)

1.3. การประกันคุณภาพการศึกษา

1.3.1. การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการทำกิจกรรม หรือการปฏิบัติภารกิจหลักอย่างมี ระบบตามแบบแผนที่กำหนดไว้ โดยมีการควบคุมคุณภาพ (quality control) การตรวจสอบคุณภาพ (quality auditing) และการประเมินคุณภาพ (quality assessment) ตลอดจนการรับรองคุณภาพ (quality accreditation) จนทำให้เกิดความมั่นใจในคุณภาพและมาตรฐานของระบบ

1.3.2. ความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา มี 3 ประการ คือ

1.3.2.1. 1. ป้องกันการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ ซึ่งจะเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและเกิดความ เสมอภาคในโอกาสที่จะได้รับการบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง

1.3.2.2. 2. ทำใหป้ระชาชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได ้ เกิดความเชื่อมั่นและสามารถ ตัดสินใจเลือกใช้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน

1.3.2.3. 3. ทำให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริหารจัดการศึกษา สู่คุณภาพและมาตรฐานอย่าง จริงจัง ซึ่งมีผลให้การศึกษา มีพลังที่จะพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง

1.4. ความเป็นมาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา

1.4.1. การประกันคุณภาพโดยทั่วไปมีจุดเริ่มต้นมาตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองในสหรัฐอเมริกา โดยเริ่มจากภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม โดยมีความพยายามที่จะทำให้สินค้าและผลิตภัณฑ์ ทุกชิ้นมีคุณภาพเท่าเทียมกัน เพื่อให้ลูกค้าและผู้ใช้บริการเกิดความเชื่อมั่น รวมทั้งเป็นการประกันผลผลิตทางอุตสาหกรรมและเป็นการควบคุมทางสถิ การดำเนินงานเรื่องคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา แม้จะได้มีการดำเนินการมาแล้วโดยสถาบัน ส่งเสริมการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ แต่ยังไม่ปรากฎว่ามีกฎหมายรับรองอย่างชัดเจน จนกระทั่งได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งได้มีการระบุประเด็นการ ประกันคุณภาพการศึกษาที่ชัดเจนโดยกำหนดให้การประกันคุณภาพการศึกษาต้องมีระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง และในปี พ.ศ. 2546 กระทรวงศึกษาธิการได้มีการออกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ

2. ตอนที่ 3 การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2.1. ขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2.1.1. ขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2.1.1.1. 1) การพฒันาคุณภาพ

2.1.1.2. 2) การตรวจสอบทบทวนปรับปรุงคุณภาพ

2.1.1.3. 3) การประเมินคุณภาพการศึกษา

2.1.2. หลกั 8 ประการในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2.1.2.1. 1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

2.1.2.2. 2. จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

2.1.2.3. 3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ

2.1.2.4. 4. ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจดัการศึกษาของสถานศึกษา

2.1.2.5. 5. จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

2.1.2.6. 6. จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

2.1.2.7. 7. จัดทำรายงานปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

2.1.2.8. 8. จัดให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

2.2. บทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2.2.1. 1. บทบาทของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

2.2.2. 2. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา

2.2.3. 3. บทบาทของครูและบุคลากรในสถานศึกษา

2.2.4. 4. บทบาทของกรรมการสถานศึกษา

2.2.5. 5. บทบาทของพ่อแม่ ผู้ปกครอง

2.2.6. 6. บทบาทของชุมชน

2.2.7. 7. บทบาทสื่อมวลชน

2.2.8. 8. บทบาทของผู้เรียน

2.3. ปัญหา อุปสรรค และปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2.3.1. 1. ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2.3.2. 2. ปัจจัยความสำเร็จในการประกันคุณภาพ

2.3.2.1. 3. ปัจจัยด้านการจัดการ

2.3.2.1.1. 1) การสื่อสาร (communication)

2.3.2.1.2. 2) การกำกับติดตาม (controlling)

2.3.2.1.3. 3) ความร่วมมือ (coperative)

2.3.2.1.4. 4) วฒันธรรมองคก์าร (organizational culture)

2.3.2.2. 2. ปัจจัยด้านระบบ

2.3.2.2.1. จะต้องมีการจัดทำคู่มือระบบ (manual) ในการดำเนินการประกันคุณภาพ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการของสถานศึกษาโดยการส่งเสริม สนบัสนุนจากเขตพื้นที่การศึกษา

2.3.2.3. 1. ปัจจัยด้านคน

2.3.2.3.1. 1) ผบู้ริหารที่มีภาวะผนู้า (leadership)

2.3.2.3.2. 2) กรรมการสถานศึกษา

2.3.2.3.3. 3) ครูจะตอ้งเป็นผู้ที่ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้มีความรู้

2.4. การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ

2.4.1. จะต้องมีการจัดทำคู่มือระบบ (manual) ในการดำเนินการประกันคุณภาพ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการ ของสถานศึกษาโดยการส่งเสริมสนบัสนุน จากเขตพื้นที่การศึกษา

2.4.2. แนวทางในการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ

2.4.2.1. 1. การประเมินวัฒนธรรมที่มีอยู่ในองค์การ

2.4.2.2. 2. การกำหนดรูปแบบของวัฒนธรรมในองค์การใหม่

2.4.2.3. 3. การนำวัฒนธรรมใหม่ไปใช้

3. ตอนที่ 2 ระบบประกันคุณภาพ การศึกษา

3.1. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

3.1.1. 1. ระบบการประกันคุณภาพภายใน

3.1.1.1. วัตถุประสงค์

3.1.1.1.1. เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ พัฒนามาตรฐานการศึกษาทุกระดับ

3.1.1.2. ผู้รับผิดชอบ

3.1.1.2.1. สถานศึกษา/หน่วยงานต้นสังกัด

3.1.1.3. องค์ประกอบ

3.1.1.3.1. 1) การประเมินคุณภาพภายใน

3.1.1.3.2. 2) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

3.1.1.3.3. 3) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

3.1.2. 2. ระบบการประกันคุณภาพภายนอก

3.1.2.1. วัตถุประสงค์

3.1.2.1.1. เพื่อรับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนา คุณภาพการศึกษาทุกระดับ

3.1.2.2. ผู้รับผิดชอบ

3.1.2.2.1. สำนักงานรับรองมาตรฐาน และ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.)

3.1.2.3. องค์ประกอบ

3.1.2.3.1. 1) การประเมินคุณภาพภายนอก

3.1.2.3.2. 2) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

3.2. การประเมินคุณภาพการศึกษา

3.2.1. 1. ระบบการประกันคุณภาพภายใน

3.2.1.1. เป็นกระบวนการประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและมาตรฐาน ของหน่วยงานต้นสังกัด

3.2.1.1.1. วัตถุประสงค์

3.2.1.1.2. หลักการของการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

3.2.2. 2. ระบบการประกันคุณภาพภายนอก

3.2.2.1. เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตามการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งกระทำโดยผู้ประเมินภายนอก ที่ได้รับการรับรองจากสำนักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือ สมศ.

3.2.2.1.1. วัตถุประสงค์

3.2.2.1.2. หลักการของการประเมินคุณภาพภายนอก

3.3. มาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา

3.3.1. มาตรฐาน หมายถึง เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริม และกำกับดูแลการตรวจสอบการประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษา

3.3.2. ระดับมาตรฐาน

3.3.2.1. 1. มาตรฐานระดับบุคคล (individual standard)

3.3.2.2. 2. มาตรฐานระดับองค์การหรือหน่วยงาน (organizational standard)

3.3.2.3. 3. มาตรฐานระดับสมาคม (association standard)

3.3.2.4. 4. มาตรฐานระดับประเทศ (national standard)

3.3.2.5. 5. มาตรฐานระดับภูมิภาค (regional standard)

3.3.2.6. 6. มาตรฐานระดับระหว่างประเทศ (international standard)

3.3.3. ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา

3.3.3.1. ตัวบ่งชี้คุณภาพ หมายถึง ตัวบ่งชี้ว่าการดำเนินงานในแต่ละมาตรฐาน หรือองค์ประกอบคุณภาพเป็นไปตามเกณฑ์และมาตรฐานการศึกษา ที่กำหนดหรือไม่ซึ่งตัวบ่งชี้จะเกี่ยวข้องกับเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสิน ความสำเร็จของการดำเนินการตามตัวบ่งชี้

3.3.4. มาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา

3.3.4.1. มาตรฐานที่1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลกคนไทย เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข

3.3.4.2. มาตรฐานที่2 แนวการจัดการศึกษาจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบริหารโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน 3 ตัวบ่งชี้

3.3.4.3. มาตรฐานที่3 แนวทางการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ 3 ตัวบ่งชี้