1. นวัตกรรมการศึกษา
1.1. ความหมายนวัตกรรมการศึกษา
1.1.1. นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม
1.2. องค์ประกอบของนวัตกรรม
1.2.1. 1 ความใหม่
1.2.2. 2 ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ
1.2.3. 3 การใช้ความรู้ความคิดสร้างสรรค์
1.3. ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
1.3.1. 1 นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
1.3.2. 2นวัตกรรมการเรียนการสอน
1.3.3. 3นวัตกรรมสื่อการสอน
1.3.4. 4 นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล
1.3.5. 5 นวัตกรรมการบริหารจัดการ
1.4. แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา
1.4.1. 1 ความแตกต่างระหว่างบุคคล
1.4.2. 2 ความพร้อม
1.4.3. 3 การใช้เวลาเพื่อการศึกษา
1.4.4. 4 ประสิทธิภาพในการเรียน
2. ประโยชน์ของนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
2.1. 1.ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น
2.2. 2.ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้น่าเรียน
2.3. 3.ช่วยลดเวลาในการสอน
2.4. 4.ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
2.5. 5.สามารถเรียนรู้ได้ในทั้งแนวกว้างและแนวลึก
2.6. 6.ฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็น และสามารถแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
2.7. 7.ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมได้หลากหลาย
2.8. 8.ผู้สอนสามารถเพิ่มเนื้อหาและจุดมุ่งหมายในการสอนได้มากขึ้น
2.9. 9.ง่ายในการประเมิน เพราะมีเทคโนโลยีเข้ามาช่วย
2.10. 10..สามารถเลือกเรียนได้ทุกเวลา ทุกสถานที่
3. ตัวอย่างนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
3.1. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
3.2. ห้องเรียนเสมือนจริง
3.3. E-learning
3.4. E-book
4. เทคโนโลยีการศึกษา
4.1. ความหมายของเทคโนโลยี
4.1.1. เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่างๆ เช่น อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุ หรือกระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นการประยุกต์นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้และก่อให้เกิดประโยชน์ โดยเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัยทางเศรษฐกิจด้วย
4.2. ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
4.2.1. เทคโนโลยีการศึกษา หมายถึง การนำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อการออกแบบและส่งเสริมระบบการเรียนการสอน โดนเน้นที่วัตถุประสงค์ทางการศึกษาที่สามารถวัดได้อย่างถูกต้องแน่นอน มีการยึดหลักผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนมากกว่ายึดเนื้อหาวิชา มีการใช้ในการศึกษาเชิงปฏิบัติโดยผ่านการวิเคราะห์และการใช้โสตทัศนูปกรณ์รวมถึงเทคนิคการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
4.3. 1. การออกแบบ (Design)
4.3.1. 1.1 การออกแบบระบบการสอน (Instructional systems design)
4.3.1.1. 1) การวิเคราะห์ (analysis)
4.3.1.2. 2) การออกแบบ (design)
4.3.1.3. 3) การพัฒนา (development)
4.3.1.4. 4) การนำไปใช้ (implementation)
4.3.1.5. 5) การประเมิน (evaluation)
4.3.2. 1.2 ออกแบบสาร (message design)
4.3.3. 1.3 กลยุทธ์การสอน (instructional strategies)
4.3.4. 1.4 ลักษณะผู้เรียน (learner characteristics)
4.4. ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
4.4.1. 2. การพัฒนา (Development)
4.4.1.1. 2.1 เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ (print technologies)
4.4.1.2. 2.2 เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ์ (audiovisual technologies)
4.4.1.3. 2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (computer – based technologies)
4.4.1.4. 2.4 เทคโนโลยีบูรณาการ (integrated technologies)
4.4.2. 3. การใช้ (Utilization)
4.4.2.1. 3.1 การใช้สื่อ (Media Utilization)
4.4.2.2. 3.2 การแพร่กระจายนวัตกรรม (Diffusion of innovation)
4.4.2.3. 3.3 วิธีการนำไปใช้ และการจัดการ (Implementation and Institutionalization)
4.4.2.4. 3.4 นโยบาย หลักการและกฎระเบียบข้อบังคับ (policies and regulation)
4.4.3. 4. การจัดการ (Management)
4.4.3.1. 4.1 การจัดการโครงการ (Project Management)
4.4.3.2. 4.2 การจัดการแหล่งทรัพยากร (Resource Management)
4.4.3.3. 4.3 การจัดการระบบส่งถ่าย (Delivery System Management)
4.4.3.4. 4.4 การจัดการสารสนเทศ (Information Management)
4.4.4. 5. การประเมิน (Evaluation)
4.4.4.1. 5.1 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
4.4.4.2. 5.2 เกณฑ์การประเมิน (Criterion – Reference Management)
4.4.4.3. 5.3 การประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation)
4.4.4.4. 5.4 การประเมินผลสรุป (Summative Evaluation)
4.5. องค์ประกอบของเทคโนโลยีการศึกษา
4.5.1. 1. Connectivity หมายถึง องค์ประกอบด้านเครื่องคอมพิวเตอร์และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
4.5.2. 2. Capacity building หมายถึง การสร้างขีดความสามารถการเรียนรู้ของผู้เกี่ยวข้องตั้งแต่ผู้กำกับนโยบาย ผู้บริหารหน่วยงาน ครูผู้สอน นักเรียน ตลอดจนถึงผู้สร้างสื่อและเจ้าหน้าที่ทางด้านเทคนิค
4.5.3. 3. Content หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เพื่อการสื่อสารแลกเปลี่ยนและเรียนรู้
4.5.4. 4. Culture หมายถึง วัฒนธรรมในการเรียนการสอนที่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงจากการเรียนการสอนที่ครูพบกับนักเรียน และให้ความรู้ตามที่กำหนดไว้ในตารางเรียน
5. ความหมายนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
5.1. เป้าหมายของนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
5.1.1. 1. การขยายพิสัยของทรัพยากรของการเรียนรู้ กล่าวคือ แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ มิได้หมายถึงแต่เพียงตำรา ครู และอุปกรณ์การสอน ที่โรงเรียนมีอยู่เท่านั้น แนวคิดทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ต้องการให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนจากแหล่งความรู้ที่กว้างขวางออกไปอีก แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ครอบคลุม
5.1.2. 2. การเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล นักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้พยายามคิด หาวิธีนำเอาระบบการเรียนแบบตัวต่อตัวมาใช้ แต่แทนที่จะใช้ครูสอนนักเรียนทีละคน เขาก็คิด ‘แบบเรียนโปรแกรม’ ซึ่งทำหน้าที่สอน ซึ่งเหมือนกับครูมาสอน นักเรียนจะเรียนด้วยตนเอง จากแบบเรียนด้วยตนเองในรูปแบบเรียนเป็นเล่ม หรือเครื่องสอนหรือสื่อประสมหลายๆ อย่าง จะเรียนช้าหรือเร็วก็ทำได้ตามความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน
5.1.3. 3. การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบัติหรือแก้ปัญหา เป็นวิธีการที่เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เชื่อถือได้ว่าจะสามารถแก้ปัญหา หรือช่วยให้งานบรรลุเป้าหมายได้ เนื่องจากกระบวนการของวิธีระบบ เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบของงานหรือของระบบ อย่างมีเหตุผล หาทางให้ส่วนต่าง ๆ ของระบบทำงาน ประสานสัมพันธ์กันอย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.4. 4. พัฒนาเครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา วัสดุและเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการศึกษา หรือการเรียนการสอนปัจจุบันจะต้องมีการพัฒนา ให้มีศักยภาพ หรือขีดความสามารถในการทำงานให้สูงยิ่งขึ้นไปอีก
5.2. ประโยชน์ของนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
5.2.1. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น
5.2.2. ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม
5.2.3. ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้สนุกสนาน
5.2.4. ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ
5.2.5. ช่วยลดเวลาในการสอน
5.2.6. ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย