นวัตกรรมและเทคโนโลยี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นวัตกรรมและเทคโนโลยี by Mind Map: นวัตกรรมและเทคโนโลยี

1. พัฒนาการคอมพิวเตอร์

1.1. 1.เครื่องคำนวณในยุคประวัติศาสตร์

1.1.1. เช่น ลูกคิด

1.2. 2.คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ

1.2.1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานทั่วไปเป็นเครื่องแรกของโลก มีชื่อว่า อินิแอค

1.2.2. เช่น IBM 603, IBM 604, และ IBM SSEC แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไอบีเอ็มสร้างยุคหลอดสุญญากาศยุคแรกนี้ยังเน้นในเรื่องการคำนวณ

1.3. 3. คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์

1.3.1. เช่น IBM 1401 เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง มีขีดความสามารถในเชิงการทำงานได้ดีขึ้น

1.3.2. เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นแรกที่ใช้ในประเทศไทย

1.3.3. ส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว

1.3.4. ใช้ในการคำนวณและควบคุมยานอวกาศต่างๆ ในยุคแรก

1.4. 4. คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม

1.4.1. มีการพัฒนาวิธีการสร้างทรานซิสเตอร์จำนวนมากลงบนแผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนที่เรียกว่า ไอซี

1.4.2. ใช้ไอซีเป็นส่วนประกอบ ทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ราคาถูกลง จึงมีบริษัทที่ผลิตคอมพิวเตอร์มากขึ้น คอมพิวเตอร์ขาดเล็กลงที่เรียกว่ามินิคอมพิวเตอร์

1.5. 5.คอมพิวเตอร์ยุค วีแอลเอสไอ

1.5.1. คอมพิวเตอร์มีขนาดอยู่ในอุ้มมือที่เรียกว่า ปาล์มทอป (plam top) ขนาดโน้ตบุ๊ค (note book) และคอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะ (desk top)

1.6. 6.คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย

1.6.1. คอมพิวเตอรื ทำงานได้เร็ว การแสดงผลและการจัดการข้อมูลก็ทำได้มาก สามารถประมวลผลและแสดงผลได้ครั้งละมาก ๆ จึงทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้หลายงานได้พร้อมกัน (multitasking)

2. Software

2.1. Software ได้เป็น 2 ประเภท

2.1.1. 1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

2.1.1.1. โปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้การติดต่อประสานกันระหว่าง อุปกรณ์แต่ละชิ้น โปรแกรมแต่ละโปรแกรม ให้สามารถทำงานร่วมกันได้โดยไม่มีปัญหา

2.1.1.1.1. Windows

2.1.1.1.2. OSX

2.1.1.1.3. Linux

2.1.1.1.4. ฯลฯ

2.1.2. 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

2.1.2.1. เป็นชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นมาเป็นโปรแกรมที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้เฉพาะได้

2.1.2.1.1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ยังแบ่งได้อีก 2 ประเภท

2.2. ประโยชน์ของ Software

2.2.1. เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์ทำงานประเภทต่างๆ ได้

2.2.1.1. เข้าถึงสื่อข้อมูลต่างๆ

2.2.1.2. ใช้งานประเภทโปรแกรมแปลภาษา

2.2.1.3. โปรแกรมด้านการคำนวณ

2.2.1.4. โปรแกรมประมวลผลคำ

2.2.1.5. ฯลฯ

3. เทคโนโลยีสารสนเทศ

3.1. เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างหรือจัดการสารสนเทศอย่างเป็นระบบและรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์

3.2. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ

3.2.1. 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

3.2.2. 2. ชอฟต์แวร์ (Software)

3.2.3. 3. ข้อมูล (Data)

3.2.4. 4. บุคลากร (People)

3.2.5. 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure)

3.3. บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.3.1. 1. ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้การค้นหาข้อมูลทางด้านการศึกษาง่ายขึ้น

3.3.2. 2. ด้านการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้มีความคล่องตัวและความสะดวกรวดเร็วมากขึ้นในการทำกิจกรรมต่างๆ

3.3.3. 3. ด้านการดำเนินธุรกิจ ทำให้มีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ทันกับข้อมูลข่าวสารอยู่ตลอดเวลา ส่งประโยชน์ให้ประเทศชาติมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

3.3.4. 4. ด้านระบบการทำงาน มีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการทำงานมากขึ้นและงานบางอย่างที่มนุษย์ไม่สามารถทำได้ก็มีการใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาทำงานแทน

4. Hardware

4.1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทำหน้าที่รับโปรแกรมคำสั่ง และข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์

4.1.1. คีย์บอร์ด (Keyboard) ทำหน้าที่ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์

4.1.2. เมาส์ (Mouse) เป็นส่วนที่ใช้สั่งงานด้วยการชี้และเลือกสิ่งต่างๆที่แสดงอยู่บนจอภาพ

4.1.3. สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลที่เป็นเอกสาร รูปภาพ หรือ รูปถ่าย

4.2. หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บข้อมูล

4.2.1. ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ไฟล์เอกสาร

4.2.2. เทปคาร์ทริดจ (Cartridge Tapeการสำรองข้อมูลขององค์กรขนาดใหญ่)

4.3. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล

4.3.1. จอภาพ (Monitor) ทำหน้าที่แสดงผลข้อความ รูปภาพ

4.3.2. ครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ในรูปของอักขระหรือรูปภาพที่จะไปปรากฏอยู่บนกระดาษ

4.3.3. ลำโพง (Speaker) เป็นส่วนที่ใช้แสดงผลที่เป็นเสียง

4.4. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU)

4.4.1. หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) หน่วยคำนวณตรรกะ โดยทำงานเกี่ยวกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์

4.4.2. หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่ควบคุมลำดับขั้นตอนการประมวลผล

4.5. อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Peripheral Equipment)เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น

4.5.1. เทปคาร์ทริดจ (Cartridge Tape)การสำรองข้อมูลขององค์กรขนาดใหญ่

4.5.2. Floppy Disk

5. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

5.1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลหรือคำสั่งจากผู้ใช้เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์เพื่่อทำการประมวลผลต่อไป

5.2. หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit : CPU) คือ ส่วนที่ทำหน้าที่ปฏิบัติตามคำสั่งที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล และควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์

5.3. หน่วยความจำหลัก(Main Memory) เป็นหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์

5.3.1. รอม ROM

5.3.2. แรม RAM

5.4. หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory) เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล และโปรแกรมที่ต้องการใช้งานในคราวต่อไปได้ ซึ่งสามารถบรรจุข้อมูล และโปรแกรมได้เป็นจำนวนมาก

5.5. หน่วยแสดงผล (Output Unit) คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล

6. นวัตกรรม

6.1. นวัตกรรมคืออะไร?

6.1.1. นวัตกรรม หมายถึง สิ่งที่ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งอาจเป็นเทคโนโลยี ความคิด หรือผลิตภัณฑ์ ที่จะทำให้การพัฒนามีความแตกต่างจากการที่เคยดำเนินการอยู่

6.2. องค์ประกอบของนวัตกรรม

6.2.1. 1. ความใหม่ (Newness) คือ สิ่งใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้น โดยจะเป็นการปรับปรุงจากของเดิมหรือพัฒนาขึ้นใหม่

6.2.2. 2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (Economic Benefits) นวัตกรรม จะต้องสามารถทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มขึ้นได้จากการพัฒนาสิ่งใหม่นั้นๆซึ่งผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นอาจจะวัดได้เป็นตัวเงินโดยตรง หรือไม่เป็นตัวเงินโดยตรงก็ได้

6.2.3. 3. การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์(Knowledge and Creativity Idea) สิ่งที่จะเป็นนวัตกรรมได้นั้นต้องเกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน ของการพัฒนาให้เกิดซ้ำใหม่ ไม่ใช่เกิดจากการลอกเลียนแบบ การทำซ้ำ เป็นต้น

6.3. กระบวนการนวัตกรรม

6.3.1. 1. การค้นหา (Searching) เป็นการสำรวจสภาพแวดล้อมต่างๆ เพื่อตรวจจับสัญญาณของโอกาสและอุปสรรคสำหรับการนำไปสู่จุดเริ่มต้นการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต

6.3.2. 2. การเลือกสรร (Selecting) เป็นการตัดสินใจเลือกสัญณาณที่สำรวจพบเหล่านั้น เพื่อจะนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับองค์กร

6.3.3. 3. การนำไปปฏิบัติ (Implementing) เป็นการแปลงสัญญาณที่มีศักยภาพ ไปสู่การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ด้วยการดำเนินงานขั้นตอนที่สำคัญอีก ๔ ประการ ดังนี้

6.3.3.1. 3.1 การรับ (Acquring) คือ ขั้นตอนของการนำองค์ความรู้ต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ให้เกิดเป็นนวัตกรรมขึ้น

6.3.3.2. 3.2 การปฏิบัติ (Executing) คือ ขั้นตอนของการนำโครงการดังกล่าวสู่การปฏิบัติงาน

6.3.3.3. 3.3 การนำเสนอ (Launching) คือ การนำนวัตกรรมที่ได้ออกสู่ตลาด โดยอาศัยการจัดการอย่างเป็นระบบ

6.3.3.4. 3.4 การรักษาสภาพ (Sustaining) คือ การรักษาสถานะภาพการยอมรับจากตลาด ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องต่อไปและคงอยู่ให้นานเท่าที่จะเป็นได้

6.3.4. 4. การเรียนรู้ (Learning) เป็นสิ่งจำเป็นที่องค์กรควรที่จะศึกษาและเรียนรู้ในชั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการทางนวัตกรรม

6.4. ประเภทของนวัตกรรม

6.4.1. นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product Innovation)

6.4.2. นวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation)