การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. Nephrotic syndrom

1.1. กลุ่มอาการ

1.1.1. โปรตีนในปัสสาวะสูง

1.1.2. โปรตีนในเลือดต่ำ

1.1.3. บวมทั่วตัวชนิดกดบุ๋ม

1.1.4. ไขมันในเลือดสูง

1.2. อาการ

1.2.1. น้ำหนักเพิ่มรวดเร็ว

1.2.2. บวมทั่วตัว

1.2.3. ปัสสาวะน้อยลงและสีเข้ม

1.3. สาเหตุ

1.3.1. ไตผิดปกติ

1.3.2. ร่วมกับโรคอื่นๆ

1.4. การวินิจฉัยโรค

1.4.1. ประวัติ อาการ ตรวจร่างกาย

1.4.2. Lab.

1.5. ภาวะแทรกซ้อน

1.5.1. ติดเชื้อ

1.5.2. เลือดไหลเวียนน้อยลง

1.5.3. หลอดเลือดอุดตัน

1.5.4. เพิ่มโพแทสเซียมและวิตามิน

1.6. การรักษา

1.6.1. ป้องกัน&ควบคุมสภาวะโภชนาการ

1.6.2. ลด/ควบคุมบวม

1.6.3. ป้องกันการติดเชื้อ

1.6.4. ยาสเตียรอยด์ลด Permeability

1.7. การพยาบาล

1.7.1. ป้องกันHypovolemia และ Hypokalemia

1.7.2. ป้องกัน/ควบคุมการบวม

1.7.3. ป้องกันผิวแตก

1.7.4. เสริมสร้างภาวะโภชนาการ

1.7.5. ป้องกันการติดเชื้อ

1.7.6. ลดการสูญเสียพลังงาน

1.7.7. ด้านจิตใจ

1.7.8. เตรียมตัวกลับบ้าน

1.8. ข้อวินิจฉัยทางพยาบาล

1.8.1. มีความไม่สุขสบายจากสภาวะของโรค

1.8.2. .เกิดการติดเชื้อได้ง่าย โดยเฉพาะผิวหนัง

1.8.3. ความดันโลหิตสูง และอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน

1.8.4. มีภาวะขาดสารอาหารโดยเฉพาะโปรตีน

1.8.5. มีภาวะไม่สมดุลของนํ้าและอิเล็กโตรลัยท์ในร่างกาย

2. Phimosis in children

2.1. อาการ

2.1.1. มีอาการปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ

2.1.2. (ballooning)ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ

2.1.3. (true phimosis)

2.1.4. (urinary tract infection , UTI)

2.1.5. (balanoposthitis)

2.1.6. (paraphimosis)

2.1.7. (retained smegma)

2.1.8. (preputial adhesions)

2.2. การดูแลรักษา

2.2.1. (foreskin retraction) ไม่ควรกระทำอย่างแรงเพราะทำให้เจ็บ

2.2.2. รูดล้างทำความสะอาดอวัยวะเพศในขณะอาบน้ำทุกครั้งด้วยสบู่และน้ำก็เพียงพอ

2.2.3. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง

2.3. ข้อห้าม

2.3.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

2.3.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

2.4. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ( circumcision )

2.4.1. ข้อบ่งชี้ 1.True phimosis 2.recurrent balanoposthitis 3. มีทางเดินปัสสาวะอักเสบ เป็นๆหายๆ 4.ในหลายกลุ่มวัฒนธรรม

2.5. ภาวะแทรกซ้อน

2.5.1. การมีเลือดออกบริเวณผ่าตัด

2.5.2. อักเสบติดเชื้อ

2.5.3. ท่อปัสสาวะตีบตัน

2.5.4. ปลายอวัยวะเพศได้รับภยันตรายจนขาด

3. Acute glomerulonephritis

3.1. สาเหตุ

3.1.1. ติดเชื้อPharyngitis จาก - Streptococcus gr. A.

3.1.2. ติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆ

3.2. อาการ

3.2.1. บวมทั่วตัว กดไม่บุ๋ม

3.2.2. ปัสสาวะน้อยลงและสีเข้ม

3.2.3. ซีด กระสับกระส่าย

3.3. การวินิจฉัยโรค

3.3.1. ประวัติ อาการ ตรวจร่างกาย

3.3.2. Lab.

3.4. ภาวะแทรกซ้อน

3.4.1. Hypertensive encephalopathy

3.4.2. Acute cardiac decompensation

3.4.3. Acute renal failure

3.5. การรักษา

3.5.1. ลดความดันโลหิตและอาการบวม

3.5.2. ป้องกัน/ควบคุมการบวม

3.5.3. ควบคุม หรือป้องกันภาวะแทรกซ้อน

3.5.4. ควบคุม และป้องกันการติดเชื้อ

3.6. การพยาบาล

3.6.1. ป้องกันการติดเชื้อ

3.6.2. ป้องกัน Hyperkalemia

3.6.3. ลดความดันโลหิต

3.6.4. เสริมสร้างความแข็งแรง

3.6.5. อำ นวยความสุขสบายของร่างกาย

3.6.6. สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน

3.6.7. ด้านจิตใจ

3.6.8. เตรียมตัวกลับบ้าน

3.7. ข้อวินิจฉัยทางพยาบาล

3.7.1. มีความไม่สุขสบายจากสภาวะของโรคและวิธีการตรวจรักษา

3.7.2. ปัสสาวะออกน้อย อาจมีเลือดออกในปัสสาวะ (Hematuria)

3.7.3. ความดันโลหิตสูง และเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากความดันโลหิตสูง

3.7.4. พักหลับได้ไม่เพียงพอ เช่น จากความไม่สุขสบายจากอาการต่าง ๆ และวิธีการรักษาพยาบาลบางอย่าง

3.7.5. เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน หรืออันตรายจากสภาวะของโรค

4. Urinary tract infection

4.1. สาเหตุ

4.1.1. Klebsiella

4.1.2. Escherichia Coli

4.1.3. Proteus

4.2. อาการ

4.2.1. ตํ่ากว่า 2 ปี

4.2.1.1. มีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดิน เลี้ยงไม่โต

4.2.2. อายุ 2-14 ปี

4.2.2.1. ไข้ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะมีกลิ่น ปวดท้องน้อย

4.3. ภาวะแทรกซ้อน

4.3.1. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosisและไตวาย

4.3.2. ความดันโลหิตสูง

4.3.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

4.4. การรักษา

4.4.1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ

4.4.2. ค้นหาและแก้ไขความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ

4.4.3. ป้องกันเนื้อไตถูกทำ ลาย และป้องกันไตวาย

4.4.4. ให้นํ้าปริมาณมาก ให้นํ้าโดยการดื่ม และหรือทางหลอดเลือดดำ

4.4.5. บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ

4.4.6. ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ

4.5. การพยาบาล

4.5.1. สังเกตภาวะแทรกซ้อน

4.5.2. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย

4.5.3. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

4.5.4. สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา

4.6. ข้อวินิจฉัยทางพยาบาล

4.6.1. . มีความไม่สุขสบายสภาวะของโรคและวิธีการตรวจรักษา

4.6.2. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

4.6.3. อาจเกิดการติดเชื้อซ้ำได้ง่าย

4.6.4. ปัสสาวะออกน้อย และอาจมีเลือดออกในปัสสาวะ

4.6.5. ภาวะแทรกซ้อนได้