การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. Acute glomerulonephritis

1.1. สาเหตุ

1.1.1. การอักเสบของไตไม่ได้มีสาเหตุจากการติดเชื้อโดยตรง

1.1.2. เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้ออื่นๆ ของร่างกายที่พบบ่อยคือ Pharyngitis หรือการติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆ

1.2. พยาธิสรีรภาพ

1.2.1. จากการติดเชื้อในร่างกายทำให้เกิดการอักเสบของหน่วยไต ทำให้การกรองของเสียและการดูดซึมกลับไม่เป็นไปตามปกติ เกิดอาการคั่งของนํ้าและของเสีย

1.3. อาการทางคลินิก

1.3.1. ปัสสาวะออกน้อยและมีโปรตีน

1.3.2. อาการบวม ความดันโลหิตสูงและปัสสาวะมีเลือดปน

1.3.3. มีไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เมื่อยล้า เบื่ออาหาร

1.4. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.4.1. การตรวจปัสสาวะ

1.4.1.1. ระดับ pH เป็นกรด

1.4.1.2. โปรตีนไม่เกิน +3

1.4.1.3. พบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว

1.4.1.4. ความถ่วงจำเพาะเกิน 1.020

1.4.2. การตรวจเลือด

1.4.2.1. ระดับ Na+, K+ , Cl - , CO2CP ปกติหรือสูง

1.4.2.2. ระดับ BUN ครีเอตินิน ESR และกรดยูริคสูง

1.4.2.3. ASO อาจสูงถึง 200 Todd units หรือมากกว่านั้น

1.5. ภาะแทรกซ้อน

1.5.1. Hypertensive encephalopathy

1.5.2. Acute cardiac decompensation

1.5.3. Acute renal failure

1.6. การพยาบาล

1.6.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

1.6.2. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

1.6.3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia)

1.6.4. ลดความดันโลหิตและสังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน

2. Nephrotic syndrome

2.1. สาเหตุ

2.1.1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต

2.1.1.1. Idiopathic NS

2.1.1.2. Congenital nephrosis / Congenital NS

2.1.1.3. Acute post infection glomerulonephritis, chronic glomerulonephritis

2.1.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น ๆ

2.2. พยาธิสรีรภาพ

2.2.1. ความผิดปกติที่ Glomerular basement membrane โดยมีการเพิ่ม permeabilityทำให้โปรตีนที่มีโมเลกุลเล็กไหลรั่วผ่านออกมามากขึ้นจะทำให้เกิดอาการต่างๆ ตามมา

2.3. อาการทางคลินิก

2.3.1. มีนํ้าหนักตัวเพิ่มขึ้น

2.3.2. ปัสสาวะจะน้อยลงและสีเข้ม

2.3.3. บวมรอบหนังตา และบวมทั่วตัว

2.3.4. เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย แน่นท้อง หายใจลำ บาก ผิวหนังซีด และเป็นไข้

2.4. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

2.4.1. การตรวจปัสสาวะ

2.4.1.1. การตรวจหาโปรตีนได้ หรือวัดปริมาณโปรตีน ในปัสสาวะรอบ 24 ชั่วโมงพบปริมานเกิน 2 กรัม/ตารางเมตรพื้นที่ผิวบุร่างกาย

2.4.2. การตรวจเลือด

2.4.2.1. ซีรั่มโปรตีนตํ่า ซีรั่มโฆเรสเตอรอลสูงประมาณ 450-1500 mg./dl. ฮีโมโกลบิน และฮีมาโตคริต มักจะปกติหรืออาจสูงเล็กน้อย ซีรั่มโซเดียมปกติหรือตํ่า

2.4.3. การตรวจอื่น ๆ

2.4.3.1. เช่น การตรวจชิ้นเนื้อของไต (Renal biopsy)

2.5. ภาวะแทรกซ้อน

2.5.1. การติดเชื้อ

2.5.2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง (Circulatory insufficiency)

2.5.3. การอุดตันของหลอดเลือด (Thromboembolism)

2.6. การพยาบาล

2.6.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

2.6.2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง

2.6.3. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

2.6.4. ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia

2.6.5. เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกาย

3. Urinary tract infection

3.1. สาเหตุ

3.1.1. ท่อปัสสาวะสั้น

3.1.2. เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย

3.1.3. ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะแต่กำเนิด

3.1.4. บาดแผลจากการสวนปัสสาวะ

3.1.5. ปัสสาวะคั่งค้างเนื่องจากกระเพาะปัสสาวะไม่ทำงาน

3.1.6. การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะจากนิ่ว

3.2. อาการทางคลินิก

3.2.1. เด็กเล็กอายุตํ่ากว่า 2 ปี

3.2.1.1. อาการไม่แน่นอนเช่น อาจมีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เลี้ยงไม่โต

3.2.2. เด็กอายุ 2-14 ปี

3.2.2.1. อาจจะพบอาการไข้ ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะ มีกลิ่น ปวดถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

3.3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

3.3.1. การตรวจปัสสาวะ

3.3.1.1. ตรวจพบเม็ดเลือดขาว

3.3.1.2. ปัสสาวะที่เกิดจาก Mid stream clean void ถ้าตรวจพบเชื้อเกิด100,000 โคโลนี/มิลลิลิตร ถือว่าผิดปกติ

3.3.1.3. ถ้าพบเชื้อชนิดเดียว จำนวนโคโลนี เท่ากับหรือมากกว่า 105/มก. มากกว่า 1 ครั้ง หรือ 1 ครั้งพบร่วมกับไข้

3.3.2. การตรวจทางรังสีวิทยา

3.3.2.1. Voiding cystourethrogram เพื่อตรวจค้นหา VUR ร่วมกับ US และหรือ IVP เพื่อดูโครงสร้างของระบบปัสสาวะ

3.4. ภาวะแทรกซ้อน

3.4.1. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosisและไตวาย

3.4.2. ความดันโลหิตสูง

3.4.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

3.5. การรักษา

3.5.1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ

3.5.2. ป้องกันเนื้อไตถูกทำ ลาย และป้องกันไตวาย

3.5.3. บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ

3.5.4. ค้นหาและแก้ไขความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ

3.5.5. ให้นํ้าปริมาณมาก ให้นํ้าโดยการดื่ม และ/หรือทางหลอดเลือดดำ

4. Phimosis in children

4.1. อาการผิดปกติต่างๆ

4.1.1. มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกระปริดกระปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน

4.1.2. มีอาการปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ

4.1.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง และส่วนปลายบวมแดงอักเสบ

4.1.4. ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก หรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง

4.2. การรักษา

4.2.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง

4.2.1.1. ใช้ครีม steroid ที่มีความเข้มข้นไม่มากทา

4.2.1.2. พ่อแม่ช่วยรูดหนังหุ้มปลายลงมาแล้วรูดกลับ ทำทีละน้อย

4.2.1.3. ยาที่ใช้ได้แก่ betamethasone 0.05% ทาวันละ 2-3 ครั้ง

4.2.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

4.2.2.1. ข้อบ่งชี้

4.2.2.1.1. มีการอักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศเป็นๆหายๆ

4.2.2.1.2. หนังหุ้มปลายไม่เปิดที่มีลักษณะของพังผืดบริเวณปลายชัดเจน

4.2.2.1.3. มีทางเดินปัสสาวะอักเสบ เป็นๆหายๆ ที่ไม่สามารถหาสาเหตุอื่นได้

4.2.2.1.4. วัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติ

4.2.2.2. ข้อห้าม

4.2.2.2.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

4.2.2.2.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

4.2.2.3. ภาวะแทรกซ้อน

4.2.2.3.1. มีการอักเสบติดเชื้อ

4.2.2.3.2. การมีเลือดออกบริเวณผ่าตัด

4.3. การดูแล

4.3.1. ก่อนผ่าตัด

4.3.1.1. เตรียมอุปกรณ์ที่ทำแผล

4.3.1.2. งดยาต้านการอักเสบ [NSAID]

4.3.1.3. ไม่ต้องงดน้ำและอาหาร ถ้าทำโดยการฉีดยาชา

4.3.1.4. เตรียมกางเกงชั้นในหลวมๆสำหรับใส่หลังผ่าตัด

4.3.2. หลังผ่าตัด

4.3.2.1. ไม่ต้องตัดไหมและทำแผลทุกวัน วันละ 1-2 ครั้ง

4.3.2.2. ทานยาแก้ปวดทานได้ทุก 4 ชั่วโมง

4.3.2.3. ใน 24 ชั่วโมงแรกถ้ามีเลือดออกให้ใช้ผ้าก๊อสพันแผล

4.3.2.4. การอาบน้ำ ทำได้ในวันที่ 2 หรือ 3 หลังการผ่าตัด

4.3.2.5. ในวันแรกหลังผ่าตัดอาจใช้แผ่นประคบเย็นหรือน้ำแข็งประคบบริเวณแผล