1. การวินิจฉัยตาม DSM-5
1.1. การซักประวัติจากบิดามารดา ผู้ป่วย ครู
1.1.1. พฤติกรรมขาดสมาธิ ซุกซนอยู่ไม่นิ่ง หุนหันพลันแล่น ที่มากกว่าเด็กทั่วไป จนทำให้การเรียน การอยู่ร่วมกับคนอื่นมีปัญหา
1.1.2. การเลี้ยงดู
1.1.2.1. ตามใจ
1.1.2.2. ขาดการฝึกวินัย
1.1.2.3. ถูกละเลย ทอดทิ้ง
1.1.2.4. ทารุณกรรม
1.1.3. ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด
1.1.4. Hx.พัฒนาการด้านต่างๆ
1.1.5. Hx.อุบัติเหตุทางศรีษะ และสมอง
1.1.6. พฤติกรรมในห้องเรียน
1.1.7. ผลการเรียน
1.1.8. ความสัมพันธ์กับเพื่อน
1.1.9. จุดเด่น จุดด้อยของเด็ก
1.2. การตรวจร่างกายและระบบประสาท
1.2.1. เพิ่มเติมทดสอบการมองเห็นและการได้ยิน
1.2.2. ตรวจเพื่อแยกโรค ซึ่งอาการคล้ายโรคสมาธิสั้น
1.2.2.1. lead poisoning
1.2.2.2. hyperthyroidism
1.2.2.3. ความบกพร่องทางการได้ยินและการมองเห็น
1.3. สังเกตพฤติกรรมเด็ก (อาการ ADHD)ในห้องตรวจ
1.4. ตรวจอื่นๆ
1.4.1. IQ test
1.4.2. achievement test
1.4.3. EEG กรณีมี Hx. ลมชัก
2. การรักษา
2.1. การปรับพฤติกรรม
2.1.1. ที่บ้าน
2.1.1.1. ฝึกให้ ผปค.จัดการกับพฤติกรรมลูกอย่างเหมาะสม
2.1.1.1.1. ปรับทัศนคติที่ดีต่อเด็ก
2.1.1.1.2. จัดทำตางรางเวลาอย่างชัดเจน
2.1.1.1.3. จัดหาสถานที่ที่ไม่ทำให้เด็กวอกแวก
2.1.1.1.4. อย่าตวาด ตำหนิเด็ก บ่นมากหรือทำให้เด็กรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองลดลง
2.1.1.1.5. รู้จักชมเชย ให้รางวัล เมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่เหมาะสม
2.1.1.1.6. สอนให้คิดก่อนทำ
2.1.1.1.7. กำหนดกิจกรรมที่เด็กชอบ เน้นฝึกสร้างสมาธิ และประกบกับเด็กอย่างใกล้ชิดเมื่อเวลาทำการบ้าน
2.1.2. ที่ ร.ร.
2.1.2.1. เป้าหมาย :ลดอาการเหม่อลอย ขาดสมาธิ และลดพฤติกรรทรบกวนในห้อง
2.1.2.1.1. จัดให้นั่งหน้าชั้น ไกลจากประตู หน้าต่าง
2.1.2.1.2. ชม ให้รางวัลเมื่อเด็กประพฤติดี
2.1.2.1.3. ห้ามตำหนิ ประจารที่ทำให้เด็กเสียหน้า และไม่ลโทษโดยการตี หรือใช้ความรุนแรง
2.1.2.1.4. สนับสนุนให้เด็กแสดงความสามารถ มีทัศนคติที่ดีต่อเด็ก
2.1.2.1.5. สอนตัวต่อตัว
2.2. รักษาด้วยยา
2.2.1. กลุ่ม psychostimulant (drug of choice)t
2.2.1.1. IR,Ritalin,Concerta
2.2.2. กลุ่ม SNRI
2.2.2.1. Strattera,Edronax
2.2.3. Antidepressant
2.2.3.1. TCA >imipramine,nortriptyline
2.2.4. Antihypertensive
2.2.4.1. clonidine
2.2.5. Antipsychotic
2.2.5.1. Haloperidol,Risperidone
3. Nursing care
3.1. ให้ความรู้ คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลเด็กและการใช้ยา (กรณีรักษาด้วยยา)แก่ครอบครัว และครู
3.2. จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยและช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้
3.3. ใช้หลักพฤติกรรมบำบัด >ชื่นชม สนใจเด็ก
4. ความหมาย
4.1. กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นตั้งแต่วัยเด็ก (ก่อนอายุ 12 ปี) ที่เกิดจากความผิดปกติของสมองซึ่งมีผลกระทบต่อพฤติกรรม อารมณ์ การเรียน และการเข้าสังคมกับผู้อื่นของเด็ก
5. อาการ
5.1. ขาดสมาธิ (attention deficit)
5.1.1. ใจจดจ่ออยู่กับงานไม่นาน ขาดความต่อเนื่อง สนใจเรื่องใดๆไม่นาน ไม่มีระเบียบ ขี้ลืม
5.1.2. ไม่ใช่เกิดจากการไม่เชื่อฟังหรือไม่เข้าใจ
5.2. หุนหันพลันแล่น วู่วาม (impulsivity)
5.2.1. ทำรีบร้อน ไม่คิดไตร่ตรอง ขาดความรอบคอบ
5.3. ซน อยู่ไม่นิ่ง (hyperactivity)
5.3.1. วู่วาม ใจร้อน ขาดความรอบคอบ รอคอยไม่เป็น
5.3.2. บางคนไม่มีอาการนี้