การทบทวนวรรณกรรม

Jetzt loslegen. Gratis!
oder registrieren mit Ihrer E-Mail-Adresse
การทบทวนวรรณกรรม von Mind Map: การทบทวนวรรณกรรม

1. ScienceDirect

2. 5.การออกแบบการวิจัย

3. พจนานุกรม

4. หลักเรียบเรียงข้อมูลวรรณกรรม

4.1. หลังจากรวบรวมข้อมูลในขั้นตอนที่2 ซึ่งเราต้องทบทวนวรรณกรรมเป็นจำนวนหลายฉบับแล้วโดยจากการสรุปวรรณกรรม จากนั้นนำข้อมูลวรรณกรรมทั้งหมดมาสรุป เรียบเรียงใหม่โดยใช้ภาษาซึ่งเป็นของผู้วิจัยเอง

5. แหล่งข้อมูลเพื่อการทบทวนวรรณกรรม

5.1. หนังสือ

5.2. หนังสือรายปี

5.3. วิทยานิพนธ์

5.4. วารสาร

5.5. บทคัดย่อ

5.6. หนังสืออ้างอิงอื่นๆหนังสืออ้างอิงทางราชการราชกิจจานุเบกษา

5.7. รายงานการวิจัย

5.8. สารานุกรม

5.9. ดรรชนีวารสาร

6. สรุป

6.1. การทบทวนวรรณกรรมต้องเป็นการให้ความรู้เพื่อขยายหัวข้อการวิจัย ปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย การพัฒนาสมมติฐานการวิจัย ตลอดจนระเบียบวิธีวิจัยและวิธีดำเนินการวิจัยเพื่อค้นหาคำตอบที่ต้องการ การทบทวนวรรณกรรมที่ดีควรใช้ภาษาของผู้วิจัยเองและควรแบ่งประเด็นหัวข้อต่างๆให้ชัดเจนและเชื่อมโยงเรื่องราวต่างๆให้เป็นเนื้อเดียวกัน

7. ขั้นตอนที่3 เรียบเรียงข้อมูลวรรณกรรม

7.1. วิธีการเขียนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

7.1.1. 1.เลือกเฉพาะข้อมูล เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจริงๆ

7.1.2. 2.เน้นการอ้างอิงจากแหล่งปฐมภูมิเท่านั้น

7.1.3. 3.เน้นการเขียนเชื่อมโยงและมีความต่อเนื่องในเนื้อหา

7.1.4. 4.มีการเขียนสรุปในตอนท้าย

7.2. สิ่งที่ไม่ควรทำในการเรียบเรียงวรรณกรรม

7.2.1. ไม่ใช่การรวบรวมทุกสิ่งทุกอย่างที่ค้นหาได้เขียนมา

7.2.2. ไม่นำสิ่งที่ค้นคว้ามาได้เขียนเรียงต่อกันไป แต่เป็นการนำมาจัดระบบใหม่

7.2.3. กระทำโดยสุจริต ไม่คัดเลือกวรรณกรรมที่บิดเบือนและไร้คุณค่าโดยที่นักวิจัย มีความเชื่อใจอย่างสุจริตว่าเป็นวรรณกรรมที่ถูกต้อง

7.2.4. ไม่ควรนำเสนอโดยนำการทบทวนวรรณกรรมของผู้อื่นมาเสนอราวกับว่าตนเองเป็นผู้ทำการทบทวน

8. ขั้นตอนที่2สรุปย่อข้อมูลวรรณกรรม

8.1. การอ่านและวิเคราะห์งานวิจัย

8.1.1. หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย

8.1.2. ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มประชากร และการได้มาของตัวอย่าง

8.1.3. ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ: แต่ละงานวิจัยให้ผลสรุป ผลการวิจัย สอดคล้อง หรือขัดแย้งกับผลงานของผู้ใด

8.2. วีธีการบันทึกเนื้อหาที่สำคัญ

8.2.1. บันทึกลงบัตรบันทึก

8.2.2. ทำตารางสรุป จดบันทึกในกระดาษ หรือ พิมพ์ในคอมพิวเตอร์

8.2.3. ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการจัดการทางบรรณารุกรมเข่น EndNote

8.3. การบันทึกโดยใช้บัตรบันทึก

8.3.1. การจดบันทึกลงบัตรขนาด ประมาณ 5* 8 นิ้ว หรือเป็นขนาด ครึ่ง ของ A4 เพื่อให้การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นระบบบัตร แต่ละบัตรควรบันทึกเฉพาะข้อความหนึ่งเป็นเรื่องๆไป โดยไม่ปะปนกับข้อความอื่นๆหรืออาจใช้หลายบัตรต่อข้อความ 1 เรื่อง

8.4. สิ่งสำคัญที่จะต้องมีในบัตรบันทึก

8.4.1. 1.หัวเรื่องของเรื่องที่บันทึก เขียนไว้ที่มุมไหนก็ได้ของบัตร

8.4.2. 2.แหล่งที่มาของข้อความ เขียนตามแบบของบรรณานุกรม

8.4.3. 3.ข้อความที่ได้จากการค้นคว้าศึกษา

9. ขั้นตอนที่1การค้นหาวรรณกรรม

9.1. หลักในการค้นหาวรรณกรรม

9.1.1. เอกสารและงานวิจัย มีความเกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยของเราอย่างไร และมากน้อยเพียงใด

9.1.2. ปริญญานิพนธ์นำเสนอเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้มากกว่าในรายการวิจัย

9.1.3. ถ้าหากผลของการวิจัยมีความขัดแย้งกัน ต้องนำเสนอเอกสารและงานวืจัยฯที่มีข้อค้นพบที่สนับสนุนแต่ละฝ่าย

9.1.4. ควรมีเหตุผลในการนำเสนอเอกสารฯแต่ละเรื่อง

9.2. ที่มาของแหล่งข้อมูล

9.2.1. ข้อมูลที่เป็นเอกสาร เช่น ห้องสมุด ร้านหนังสือ และอื่นๆ

9.2.2. ข้อมูลอิเลกทรอนิกส์ เช่น CD,DVD,ข้อมูลจากcomputer

9.2.3. ข้อมูล Online

9.3. ข้อมูลOnline Database

9.3.1. TDC-thailis

9.3.2. Pubmed

9.3.3. อื่นๆ

9.3.4. CINAHL

9.3.5. Education Research

9.3.6. IEEE Xplore

9.3.7. Emerald

9.3.8. MEDLINE

9.4. ระดับความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล

9.4.1. ความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มา จะต้องสามารถสืบค้นได้ถึงเจ้าของผลงานเดิม

9.4.2. ความน่าเชื่อถือของประเภทวรรณกรรมปฐมภูมิมากกว่าทุติยภูมิ

9.4.3. ความน่าเชื่อถือของเจ้าของวรรณกรรม คุณวุฒิความถนัด ความชำนาญของเจ้าของวรรณกรรม

10. 2.คำถามและวัตถุประสงค์ของการวิจัย

11. วรรณกรรม: งานหนังสือ งานนิพนธ์ที่มีรูปแบบต่างๆเช่น ตำรา หนังสือ จุลสาร

12. การโจรกรรมทางวิชาการ

12.1. รูปแบบ Plagiarism

12.1.1. 1.Copy and Paste Plagiarism

12.1.2. 2.Word Switch Plagiarism

12.1.3. 3.Metaphor Plagiarism

12.1.4. 4.Style Plagiarism

12.1.5. 5.Idea Plagiarism

12.1.6. 6.การกระทำอื่นๆที่ถือเป็น Plagiarism เช่น การส่งผลงานชิ้นเดียว

12.1.7. 7.การส่งผลงานที่ทำร่วมกับผู้อื่นไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เขียนร่วม การลอกการบ้าน การใช้บทความจากอินเตอร์เน็ตโดยไม่อ้างอิง

13. หัวข้อการทบทวนวรรณกรรม

13.1. 1.ที่มาของปัญหา

13.2. 3.วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

13.3. 4.กลุ่มตัวอย่าง/วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

13.4. 6.เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล

13.5. 7.วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล

13.6. 8.ข้อค้นพบจากการวิจัย

14. ความสำคัญ:การทบทวนวรรณกรรม

14.1. 1.หาความจริง

14.2. 2.เพื่อให้เลือกสรรปัญหาได้ถูกต้อง

14.3. 3.ช่วยในการนิยามปัญหา

14.4. 4.เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำซ้อน

14.5. 7.เพื่อเตรียมการเขียนรายงาน

14.6. 5.เพื่อหาเทคนิคในการวิจัย

14.7. 6.ช่วยในการแปลความหมายของข้อมูล

15. ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม

15.1. การทบทวนวรรณกรรม ทำให้ปัญหาการวิจัยมีความชัดเจน

16. ความหมาย

16.1. วรรณกรรมในงานวิจัย: เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด/ทฤษฎี

16.2. การทบทวนวรรณกรรม: Hart การใช้ความคิดที่ปรากฏอยู่ในวรรณกรรม

16.3. การทบทวนวรรณกรรม:Zikmund,Babbitt ค้นหาโดยตรงจากงานที่ได้รับการตีพิมพ์