การประเมินสื่อการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การประเมินสื่อการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษา by Mind Map: การประเมินสื่อการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษา

1. ประเภทและลักษณะการประเมินผลสื่อการเรียนรู้

1.1. 1. การประเมินในกรณีเป็นผู้ผลิต สร้างหรือพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ( Producer / Developer )

1.1.1. 1. แนวคิดการประเมินตั้งแต่เริ่มสร้าง ของ สมหวัง พิธิยานุวัฒ

1.1.1.1. 1.1การศึกษาเอกสาร งานวิจัย และแหล่งความรู้ที่เกี่ยวข้อง หลังจากตัดสินใจ

1.1.1.2. 1.2 การวางแผนผลิต สร้าง หรือพัฒนาสื่อการเรียนรู้ โดยกำหนดวัตถุประสงค์

1.1.1.3. 1.3 การทำสื่อต้นแบบ เป็นการเตรียมวัสดุที่ใช้ในการเรียนการสอน คู่มือการใช้

1.1.1.4. 1.4 การทดลองใช้กับกลุ่มเล็ก

1.1.1.5. 1.5 การปรับปรุงสื่อต้นแบบ

1.1.1.6. 1.6 การทดลองใช้กับกลุ่มใหญ่

1.1.1.7. 1.7 การปรับปรุง เป็นการปรับปรุงจากผลการทดลองใช้กับกลุ่มใหญ่

1.1.1.8. 1.8 การทดลองความพร้อมก่อนนำไปใช้

1.1.1.9. 1.9 การปรับปรุงเกี่ยวกับองค์ประกอบต่างๆ

1.1.1.10. 1.10 การนำสื่อการเรียนรู้ไปใช้และจัดระบบเผยแพร่สื่อ

1.1.2. 2. แนวคิดการประเมินเมื่อสร้างสื่อต้นแบบแล้ว ของ วชิราพร อัจฉริยโกศล

1.1.2.1. 2.1 การตรวจสอบโครงสร้างภายในสื่อ ( Structural Basis )

1.1.2.1.1. 2.1.1 ลักษณะสื่อการเรียนรู้

1.1.2.1.2. 2.1.2 เนื้อหาสาระ โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3 คนเป็นผู้ตรวจสอบเนื้อหาสาระที่ปรากฏในสื่อการเรียนรู้

1.1.2.2. 2.2 การตรวจสอบคุณภาพสื่อ ( Qualitative Basis )

1.1.2.2.1. การทดลองแบบเดี่ยว 1:1

1.1.2.2.2. การทดลองกลุ่มเล็ก 1:10

1.1.2.2.3. การทดลองกลุ่มใหญ่ 1:100

2. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

2.1. 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

2.2. 2. แบบทดสอบความถนัด

2.3. 3. แบบสอบถาม

2.4. 4. การสังเกต

2.5. 5. การสัมภาษณ์

3. ความหมายของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้

3.1. การประเมินผลสื่อการเรียนรู้ หมายถึง การนำเอาผลการวัดและประเมินสื่อการเรียนการสอนมาตีความหมาย ( Interpretation ) และตัดสินคุณค่า ( Value Judgment ) เพื่อที่จะรู้ว่าสื่อนั้นทำหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้แค่ไหน มีคุณภาพดีหรือไม่เพียงใด มีลักษณะถูกต้องตามที่ต้องการหรือไม่ประการใด

4. ความสำคัญของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้

4.1. 1. ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน

4.2. 2. ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้

4.3. 3. เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

4.4. 4. สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้

5. วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้

5.1. 1. การประเมินโดยผู้สอน

5.2. 2. การประเมินโดยผู้ชำนาญ

5.3. 3. การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ

5.4. 4. การประเมินผลโดยผู้เรียน

5.5. 5. การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ

5.6. 6. การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน