1. Pyricnephritis
1.1. ความหมาย
1.1.1. ภาวะติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณกรวยไตซึ่งอยู่ระหว่างไตกับท่อไต ผู้ป่วยกรวยไตอักเสบจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้องและเร่งด่วน เนื่องจากอาจทำให้ไตเสียหายถาวร หรือติดเชื้อในกระแสเลือดจนเสียชีวิตได้
1.2. อาการ
1.2.1. มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียล
1.2.2. รู้สึกหนาวสั่น
1.2.3. เจ็บปวดบริเวณหลังหรือสีข้าง ปวดท้อง
1.2.4. คลื่นไส้ อาเจียน
1.2.5. ปัสสาวะบ่อย รู้สึกปวดปัสสาวะตลอดเวลา เจ็บ หรือแสบขณะปัสสาวะ
1.2.6. ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น มีสีขุ่น มีหนอง หรือเลือดปนมากับปัสสาวะ
1.2.7. หากเกิดการติดเชื้อจากเพศสัมพันธ์ อาจมีหนองหรือสารคัดหลั่งบริเวณอวัยวะเพศ
1.3. การวินิจฉัย
1.3.1. การตรวจปัสสาวะ
1.3.1.1. เพื่อตรวจหนอง เลือด หรือเชื้อแบคทีเรียที่ปะปนในปัสสาวะ หรืออาจเพาะเชื้อจากปัสสาวะ
1.3.2. การตรวจเลือด
1.3.2.1. เพื่อตรวจหาเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อโรคชนิดอื่นๆ ในเลือด
1.3.3. การตรวจรังสีวิทยา
1.3.3.1. แพทย์อาจวินิจฉัยโรคกรวยไตอักเสบด้วยการอัลตราซาวด์หรือเอกซเรย์ระบบทางเดินปัสสาวะ เพื่อตรวจหาซีสต์ เนื้องอก หรือการอุดตันในระบบทางเดินปัสสาวะ
1.4. การรักษา
1.4.1. การรับประทานยาและดูแลอาการด้วยตนเองที่บ้าน การใช้ยาปฏิชีวนะเป็นพื้นฐานการรักษากรวยไตอักเสบทั่วไป
1.4.2. การรักษาในโรงพยาบาล หากรักษาด้วยการรับประทานยาปฏิชีวนะไม่ได้ผล หรือผู้ป่วยมีภาวะไตติดเชื้อรุนแรง แพทย์อาจต้องฉีดยปฏิชีวนะเข้าทางหลอดเลือด
2. Urinary Tract Infection (UTI)
2.1. การจำแนก
2.1.1. UTI ส่วนบน/ตอนบน
2.1.1.1. เป็นการติดเชื้อที่ท่อไตหรือที่ไต
2.1.2. UTI ส่วนล่าง/ตอนล่าง
2.1.2.1. เป็นติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ
2.2. อาการ
2.2.1. สัญญาณทั่วไป
2.2.1.1. มีไข้สูง
2.2.1.2. อาเจียน
2.2.1.3. เหน็ดเหนื่อยอ่อนแรง
2.2.1.4. ฉุนเฉียว
2.2.1.5. ป้อนอาหารยาก
2.2.1.6. น้ำหนักตัวไม่เพิ่มตามที่ควรจะเป็น
2.2.1.7. เด็กเล็กอาจมีภาวะดีซ่าน
2.2.2. สัญญาณบ่งชี้ว่าเป็นUTI
2.2.2.1. ความรู้สึกเจ็บหรือแสบร้อนขณะปัสสาวะ
2.2.2.2. ต้องปัสสาวะบ่อยๆ
2.2.2.3. ไม่สามารถอั้นปัสสาวะได้นาน
2.2.2.4. อาจมีปัสสาวะรดที่นอนหรือกางเกง
2.2.2.5. เจ็บท้องน้อย หรือสีข้าง หรือแผ่นหลังส่วนล่าง
2.2.2.6. ปัสสาวะมีกลิ่นแรง
2.2.2.7. มีเลือดปนปัสสาวะ
2.2.2.8. ปัสสาวะมีสีขุ่น
2.3. การรักษา
2.3.1. การรักษาตัวที่บ้าน
2.3.1.1. UTI ส่วนบน : มักจะต้องใช้ยาติดกัน 7-10 วัน
2.3.1.2. UTI ส่วนล่าง : มักจะต้องใช้ยาติดกัน 3 วัน
2.3.2. การรักษาตัวที่โรงพยาบาล
2.3.3. การนัดหมายติดตามผล
2.3.4. การป้องกันภาวะติดเชื้อ
3. Phimosis
3.1. ความหมาย
3.1.1. ภาวะที่ผิวหนังบริเวณปลายองคชาตหดตัวจนไม่สามารถดึงให้เปิดขึ้นได้ดังปกติ
3.2. อาการ
3.2.1. ปลายองคชาตและหนังหุ้มปลายองคชาตอักเสบ ทำให้มีอาการบวมแดงและรู้สึกเจ็บปวด
3.2.2. ปัสสาวะไม่ออกหรือปัสสาวะลำบาก
3.2.3. รู้สึกเจ็บขณะปัสสาวะ
3.2.4. รู้สึกเจ็บปวดเมื่อองคชาตแข็งตัว
3.3. การวินิจฉัย
3.3.1. กาาซักประวัติจากอาการ
3.3.2. ตรวจดูความผิดปกติขององคชาต
3.4. การรักษา
3.4.1. ขึ้นอยู่กับลักษณะและความรุนแรงของอาการ รวมถึงอายุของผู้ป่วยเป็นหลัก สำหรับผู้ป่วยเด็กที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆรวมด้วย
4. End Stage Renal Disease (ESAD)
4.1. ความหมาย
4.1.1. ไตวายเรื้อรัง เป็นภาวะที่ไตมีความผิดปกติมีการสูญเสียหน่วยไตไปมากกว่าครึ่งหนึ่งของที่มีอยู่ตามปกติในการขจัดของเสีย การรักษาสมดุลของน้ำ สารอิเล็คโทรไลต์ และกรด-ด่าง เป็นเวลามากกว่า 3 เดือน
4.2. สาเหตุ
4.2.1. กลุ่มอาการ Chronic glomerulo nephritis
4.2.2. กรวยไตอักเสบเรื้อรัง
4.2.3. โรคหลอดเลือด
4.2.4. มีความผิดปกติของไตแต่กำเนิด
4.2.5. การอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
4.2.6. โรคที่มีผลกระทบ เช่น SLE โกลเมอรูลัสเสื่อมจากโรคเบาหวาน เป็นต้น
4.3. การรักษา
4.3.1. อาหาร
4.3.1.1. เนื่องจากไตเสื่อมสภาพในการขับของเสียออกจากร่างกายโดยเฉพาะสารยูเรีย การรักษาเพื่อป้องกันการสลายตัวของโปรตีนโดยให้สารอาหารทดแทน และพลังงานที่เพียงพอต่อร่างกาย
4.3.2. การจำกัดน้ำ
4.3.2.1. จะจำกัดน้ำเมื่อไตไม่สามารถขับปัสสาวะได้ ฉะนั้นในผู้ป่วยที่ไม่มีปัสสาวะ ควรได้รับน้ำวันละ 300 มล.
4.3.3. ยา
4.3.3.1. ยาขับปัสสาวะ
4.3.3.2. ยาลดความดันโลหิต
4.3.3.3. ยาระบาย
4.3.3.4. ยาแก้อาเจียน
4.3.3.5. ยาแก้คัน
4.3.3.6. ยาเกี่ยวกับหัวใจ
4.3.3.7. ยาแก้ไขภาวะโปตัสเซียมสูง
4.4. ผลกระทบ
4.4.1. ระบบหัวใจและหลอดเลือด
4.4.1.1. ความดันโลหิตสูง
4.4.1.2. ภาวะหัวใจล้มเหลียว
4.4.1.3. ภาวะเยื่อบุหัวใจอักเสบ
4.4.2. ระบบทางเดินหายใจ
4.4.3. ระบบประสาท
4.4.3.1. ระบบประสาทส่วนกลาง
4.4.3.2. ระบบประสาทส่วนปลาย
4.4.4. ระบบทางเดินอาหาร
4.4.4.1. ภาวะยูรีเมียกระทบต่อทางเดินอาหารทุกส่วน
4.4.5. ระบบโลหิต
4.4.5.1. ภาวะโลหิตจาง
4.4.5.2. ภาวะเลือดออกง่าย
4.4.5.3. ภาวะต้านทานต่อโรคต่ำ
4.4.6. ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
4.4.7. ผิวหนัง
4.4.8. ความไม่สมดุลของสารอิเล็คโตรลัยต์แ
4.4.9. ต่อมไร้ท่อ
4.4.10. ระบบสืบพันธุ์
4.4.11. ตา
5. Acute Glomerulonephritis
5.1. ความหมาย
5.1.1. เป็นการอักเสบของไตและกรวยไตทั้งสอง เนื่องจากติดเชื้อแบคทีเรียอย่างเฉียบพลัน
5.2. สาเหตุ
5.2.1. เชื้อแบคทีเรียมักเกิดตามหลังการติดเชื้อ Group A beta hemolytic streptococci และเกิดจากการติกเชื้อที่ไม่ใช่เชื้อ Streptococcus เช่น Bacterial endocarditis, Sepsis และอาจเกิดจากโรคอื่นๆ
5.3. อาการ
5.3.1. มีอาการปวดบริเวณเอวด้านข้าง กดเจ็บบริเวณ Costovertebral ปวดศีรษะ มีปัญหาการมองเห็น อ่อนเพลีย เมื่อยล้า เบื่ออาหาร หอบเหนื่อย มีไข้ หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง ปัสสาวะน้อย มีเลือดปนปัสสาวะ ตาและหน้าบวม มีน้ำและเกลือคั่ง
5.4. การวินิจฉัย
5.4.1. จากอารการและตรวจปัสสาวะพบมีเลือดและโปรตีนปนในปัสสาวะ มี Blood urea nitrogen และ Creatinine ในเลือดสูง ซีด
5.5. การรักษา
5.5.1. ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาการติดเชื้อ ควบคุมอาหารเค็ม น้ำ และโปรตีน ให้ยาขับปัสสาวะและยาลดความดันโลหิตเพื่อควบคุมความดันโลหิต ให้พักผ่อน ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
5.6. การพยาบาล
5.6.1. I/O
5.6.2. V/S
5.6.3. ชั่งน้ำหนักทุกวัน
5.6.4. ตรวจปัสสาวะหา Specific gravity
5.6.5. ดูแลผิวหนังเพื่อป้องกันผิวแตกจากอาการบวม
5.6.6. สังเกตภาวะแทรกซ้อน
5.6.6.1. ภาวะไตวาย
5.6.6.2. หัวใจล้มเหลว
5.6.6.3. มีอาการทางสมอง
5.7. หลักการพยาบาล
5.7.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ
5.7.2. ป้องกันหรือควบคุมอาการ
5.7.3. ป้องกันภาวะโพแทสเซียมสูง Hyperkalemia
5.7.4. ลดความดันโลหิต
5.7.5. สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน
5.7.6. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
5.7.7. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย
5.7.8. ประคับประคองรักจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
5.7.9. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตัวเอง
6. Nephrotic Syndrome
6.1. ความหมาย
6.1.1. กลุ่มอาการโรคไตที่ทำให้ร่างกายขับโปรตีนออกทางปัสสาวะมาก
6.2. ลักษณะเด่น
6.2.1. ไขมันในหลอดเลือดสูง Hypercholesterolemia
6.2.2. บวม Edema
6.2.3. อัลบูมินในเลือดต่ำ Hypoalbuminuria
6.2.4. มีโปรตีนในปัสสาวะมาก Protinurai มากกว่า 3.5 g/day
6.3. สาเหตุ
6.3.1. เกิดจากความผิดปกติที่ผนังหลอดเลือดในไตทำให้ไม่สามารถกรองโปรตีนหรือไข่ขาวรั่วออกมากทางปัสสาวะจำนวนมาก กลุ่มอาการนี้เกิดขึ้นได้กับทุกวัย โดยจะพบมากในเด็กอายุ 2-5 ปี และมักพบมากในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
6.4. อาการ
6.4.1. มีอาการบวมบริเวณรอบดวงตา ท้อง แขน ขา ข้อเท้า และเท้า
6.4.2. น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
6.4.3. ปัสสาวะเป็นฟอง
6.4.4. ปัสสาวะน้อยมาก
6.4.5. อ่อนเพลีย
6.4.6. เบื่ออาหาร
6.4.7. ท้องเสีย
6.5. การวินิจฉัย
6.5.1. สอบถามอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น ตรวจประวัติความเจ็บป่วย ตรวจร่างกาย และตรวจปัสสาวะเพื่อตรวจปริมาณของโปรตีนที่ป่นอยู่ในน้ำปัสสาวะ
6.6. การรักษา
6.6.1. ยาขับปัสสาวะ
6.6.2. ยากดภูมิคุ้มกัน
6.6.3. ยาลดคอเลสเตอรอล
6.6.4. ยาควบคุมความดันโลหิต
6.6.5. ยาเจือจางเลือด
6.7. ภาวะแทรกซ้อน
6.7.1. ความดันโลหิตสูง
6.7.2. ระดับไขมันคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
6.7.3. ภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดอุดตัน
6.7.4. ภาวะขาดสารอาหาร
6.7.5. ภาวะไตวายเฉียบพลัน
6.7.6. โรคไตเรื้อรัง
6.7.7. เกิดการติดเชื้อ
6.8. การป้องกัน
6.8.1. ควบคุมความดันโลหิตเพื่อป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงจนเป็นอันตราย
6.8.2. ควบคุมอาการของโรคเบาหวาน
6.8.3. รับประทานยาปฏิชีวนะให้ครบตามจำนวนและระยะเวลาที่แพทย์กำหนดไว้
6.8.4. เข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อ
6.9. หลักการพยาบาล
6.9.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ
6.9.2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง
6.9.3. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม
6.9.4. ลดการสูญเสียพลังงานลดการทำงานของหัวใจ
6.9.5. เสริมสร้างด้านโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการและการเจริญเติบโต
6.9.6. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
6.9.7. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน
6.9.8. ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia