
1. ผู้แต่ง
1.1. เจ้าพระยาพระคลัง(หน)
2. ตัวละคร(วิเคราะห์มา1ตัว)
2.1. พระนางผุสดี
2.1.1. เป็นแบบอย่างของนักปกครองฟังเสียส่วนมากไม่เห็นแก่พวก
3. ข้อคิดที่ได้
3.1. ความรักที่ยิ่งใหญ่ของแม่ที่มีต่อลูก และการปฏิบัติดูแลต่อสามีที่ดียิ่ง
4. จุดมุ่งหมาย
4.1. แต่งขึ้นเพื่อใช้สำหรับเทศน์
5. ลักษณะคำประพันธ์
5.1. แต่งด้วยร่ายยาว
5.2. ขึ้นต้นด้วยคาถาบาลีสั้นๆสรุปใจความของเนื้อเรื่องนั้นๆ
5.3. ดำเนินด้วยร่ายยาว บางตอนที่สำคัญจะแทรกคาถาบาลีไว้ด้วย
5.4. บางครั้งแทรก ความเรียงร้อยแก้ว กลบท กลอนพื้นบ้าน
6. คุณค่า
6.1. คุณค่าด้านวรรณศิลป์
6.1.1. คุณค่าด้านสังคม
6.1.1.1. 1. แสดงให้เห็นความรักอันยิ่งใหญ่ที่แม่มีต่อลูก
6.1.1.2. 2.ความจงรักภักดีของพระนางมัทรีที่มีต่อพระเวสสันดร
6.1.1.3. 3. ความมีเมตตา การบริจาคทานให้แก่ผู้ที่ด้วยกว่า
6.1.2. การใช้ธรรมชาติเปรียบเทียบกับความทุกข์โศกของพระนางมัทรี
6.1.3. เช่น สภาพธรรมชาติที่แตกต่างไปจากปกติ แสดงให้เห็นว่า จะบอกเหตุลางร้ายแก่พระนางมัทรี
6.1.4. 2.การเล่นคำ
6.1.4.1. เช่น สะบัดสะบิ้ง สะอึกสะอื้น ตระตรากตระตรา
6.1.5. 3.การเล่นเสียง
6.1.5.1. 3.1การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะเสียงเดียวต่อๆกัน
6.1.5.1.1. เช่น ก็กลายเป็นดอกดวงเดียวดาษอนาถเนตร
6.1.5.2. 3.2 การเล่นเสียงสัมผัสสระ
6.1.5.2.1. นางก็ถึงวิสัญญีสลบตรงหน้าฉาน ปานประหนึ่งว่าพุ่มฉัตรทองฟาดระเนนเอนก็ล้มลงตรงหน้าพระที่นั้งเจ้า นั้นแล
6.1.5.3. 3.3 การเล่นทั้งเสียงสัมผัสพยัญชนะและสระ
6.1.5.3.1. เจ้าเคยเคียงเรียงเคียงหมอนนอนแนบข้างทุกราตรี