1. วุฒิสภา
1.1. 200 คน
1.1.1. การเลือก ตราเป็น "พระราชกฤษฎีกา"
1.2. อายุคราวละ 5 ปี
2. เลือกกันเองของบุคคล
3. รัฐสภา
3.1. สภาผู้แทนราษฎร
3.1.1. 500 คน
3.1.1.1. แบ่งเขตเลือกตั้ง 350 คน
3.1.1.2. บัญชีรายชื่อ 150 คน
3.1.2. อายุคราวละ 4 ปี
3.1.3. สภาสิ้นสุดเลือกภายใน 45 วันนับแต่สิ้นสุด
3.1.4. ยุบสภา "พระราชกฤษฎีกา"
3.1.5. ตำแหน่งว่างให้เลือกตั้งแทน ยกเว้นอายุสภาไม่ถึง 180 วัน
4. คณะรัฐมนตรี
4.1. นายกรัฐมนตรี
4.1.1. ประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงนามรับสนอง
4.2. ต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา ภายใน 15 วัน
4.3. รัฐมนตรี 35 คน
5. ศาล
5.1. ตั้งขึ้นโดย "พระราชบัญญัติ"
5.2. King แต่งตั้ง และให้ผู้พิพากษา ตุลาการพ้นจากตำแหน่ง
5.2.1. Top Priorities
5.2.2. Medium Priorities
5.2.3. Low Priorities
5.3. มี 3 ศาล
5.3.1. ศาลยุติธรรม
5.3.1.1. พิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่กำหนดไว้เป็นอำนาจศาลอื่น
5.3.1.2. มี แผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองใน "ศาลฎีกา" : องค์ผู้พิพากษา 5-9 คน
5.3.2. ศาลปกครอง
5.3.2.1. พิพากษาคดีปกครอง
5.3.2.2. มีศาลปกครองสูงสุด และ ศาลปกครองชั้นต้น
5.3.3. ศาลทหาร
5.3.3.1. พิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลซึ่งอยู่ในอำนาจศาลทหารและคดีอื่นๆ
6. ฉบับที่ 20
6.1. ประกาศ 6 เมษายน 2560
6.2. รับสนอง : พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
6.3. มี 16 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 279 มาตรา
7. ศาลรัฐธรรมนูญ
7.1. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 9 คน King แต่งตั้ง
7.2. คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาล
7.2.1. ประธานศาลฎีกา
7.2.2. ประธานสภาผู้แทนราษฎร และผู้นำฝ่ายค้าน
7.2.3. ประธารศาลปกครองสูงสุด
7.2.4. บุคคลองค์กรอิสระ องค์กรละ 1 คน
8. องค์กรอิสระ
8.1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
8.1.1. จำนวน 7 คน
8.1.2. ดำรง 7 ปี วาระเดียว
8.2. ผู้ตรวจการแผ่นดิน
8.2.1. จำนวน 3 คน
8.2.2. ดำรง 7 ปี วาระเดียว
8.3. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
8.3.1. จำนวน 9 คน
8.3.2. ดำรง 7 ปี วาระเดียว
8.4. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
8.4.1. จำนวน 7 คน
8.4.2. ดำรง 7 ปี วาระเดียว
8.5. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
8.5.1. จำนวน 7 คน
8.5.2. ดำรง 7 ปี วาระเดียว