หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2551

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2551 by Mind Map: หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2551

1. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

1.1. ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร

1.2. ความสามารถในการคิด

1.3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

1.4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

1.5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

2. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

2.1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

2.2. ซื่อสัตย์สุจริต

2.3. มีวินัย

2.4. ใฝ่เรียนรู้

2.5. อยู่อย่างพอเพียง

2.6. มุ่งมั่นในการทำงาน

2.7. รักความเป็นไทย

2.8. มีจิตสาธารณะ

3. มาตรฐานการเรียนรู้

3.1. ภาษาไทย

3.2. คณิตศาสตร์

3.3. วิทยาศาสตร์

3.4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

3.5. สุขศึกษาและพลศึกษา

3.6. ศิลปะ

3.7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี

3.8. ภาษาต่างประเทศ

4. สาระการเรียนรู้

4.1. คณิตศาสตร์

4.2. วิทยาศาสตร์

4.3. ภาษาไทย

4.4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

4.5. ศิลปะ

4.6. การงานอาชีพและเทคโนโลยี

4.7. ภาษาต่างประเทศ

4.8. สุขศึกษาและนักศึกษา

5. ระดับการศึกษา

5.1. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6)

5.1.1. การศึกษาระดับนี้เน้นการเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน สนองต่อความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียนแต่ละคนทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพมีทักษะในการใช้วิทยาการ และเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตนเอง สามารถเป็นผู้นำ และผู้ให้บริการชุมชนในด้านต่างๆ

6. โครงสร้างเวลาเรียน

6.1. ระดับมัธยมศึกษาต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามกำหนดและ สอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร

7. เอกสารการศึกษา

7.1. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาที่การกำหนด

7.1.1. ระเบียบแสดงผลการเรียน

7.1.2. ประกาศนียบัตร

7.1.3. แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา

7.2. .เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด

8. การเทียบโอนผลการเรียน

8.1. - พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ความสามารถของผู้เรียน - พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้และภาคปฏิบัติ - พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศ หรือแนวปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการสำหรับการเทียบโอนเข้าสู่การศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ดำเนินการตามแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่การศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

9. หลักการ

9.1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ

9.2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน

9.3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ

9.4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้ง ด้านสาระการเรียนรู้เวลา และการจัดการเรียนรู้

9.5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

9.6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย

10. จุดหมาย

10.1. มีคุณธรรม จริยธรรม และการนิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง

10.2. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต

10.3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย

10.4. มีความรักชาติ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

10.5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

11. ตัวชี้วัด

11.1. ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่ผู้เรียนรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานในการเรียนรู้ นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศึกษาปีที่ 4-6)

12. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

12.1. กิจกรรมแนะแนว

12.2. กิจกรรมนักเรียน

12.3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

13. การจัดเวลาเรียน

13.1. ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้ำหนักวิชาเท่ากับ 1 หน่วยกิต

14. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

14.1. การประเมินระดับชั้นเรียน

14.2. การประเมินระดับสถานศึกษา

14.3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา

14.4. การประเมินระดับชาติ

15. เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน

15.1. การตัดสิน การให้ระดับ และการรายงานผลการเรียน

15.1.1. การตัดสินผลการเรียน

15.1.1.1. ระดับมัธยมศึกษา 1.ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้นๆ 2.ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 3. ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา 4.ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

15.1.2. การให้ระดับผลการเรียน

15.1.3. การรายงานผลการเรียน

15.2. เกณฑ์การจบการศึกษา

15.2.1. เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

15.2.1.1. 1. ผู้เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 39 หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามสถานศึกษากำหนด 2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิตโดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 39 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 38 หน่วยกิต 3. ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด 4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด 5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด

16. การบริหารจัดการหลักสูตร