ปฏิบัติการที่ 4 สมดุลกรดเบส pH และสารละลายบัฟเฟอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฏิบัติการที่ 4 สมดุลกรดเบส pH และสารละลายบัฟเฟอร์ by Mind Map: ปฏิบัติการที่ 4 สมดุลกรดเบส pH และสารละลายบัฟเฟอร์

1. สมดุลกรด-เบส

1.1. การทำปฏิกิริยาที่ไม่สมบูรณ์ของกรดกับเบส ซึ่งสามารถแปรผันกลับได้

2. เกลือเบส

2.1. เบส เช่น แอมโมเนีย

2.2. เกลือเบส เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์

3. สารละลายบัฟเฟอร์

3.1. เมื่อเติมเกลือของกรดอ่อนลงไปในสารละลายกรดอ่อนชนิดนั้นๆ จะได้สารละลายบัฟเฟอร์ทนทานต่อการเปลี่ยนแปลง pH เมื่อเติมกรดหรือเบสลงไป

4. สารเคมี

4.1. กรดไฮโดรคลอริก 0.01 M, 0.1 M, 0.5 M, 1 M

4.2. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.01 M, 0.1 M, 0.2 M, 0.5, 1 M

4.3. กรดอะซิติก 0.01 M, 0.1 M, 1 M

4.4. แอมโมเนียม ไฮดรอกไซด์ 0.01 M, 0.1 M, 1 M

4.5. โซเดียมคลอไรด์ 0.1 M

4.6. โซเดียมคาร์บอเนต 0.1 M

4.7. Indicator Solution

4.8. น้ำกลั่น

5. ค่า pH

5.1. pH < 7 เป็นกรด

5.2. pH = 7 เป็นกลาง

5.3. pH > 7 เป็นเบส

6. การแตกตัวเป็นไอออนได้เองของน้ำ

6.1. สารประกอบที่ทำหน้าที่ได้ทั้งกรด-เบส เรียกว่า แอมโฟเทอริก

6.2. Kw คือค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวได้เองของน้ำ

6.3. Ka เป็นค่าคงที่การแตกตัวของกรดอ่อน

6.4. Kb เป็นค่าคงที่การแตกตัวของเบสอ่อน

7. Bronsted and Lowry

7.1. กรด เป็นสารที่ให้โปรตอน

7.2. เบส เป็นสารที่รับโปรตอน