Unlock the full potential of your projects.
Try MeisterTask for free.
Vous n'avez pas de compte ?
Inscription gratuite
Parcourir
Cartes en vedette
Catégories
Gestion de projet
Objectifs d'affaires
Ressources humaines
Brainstorming et analyse
Marketing et contenu
Éducation et remarques
Loisirs
Vie courante
Technologie
Design
Résumés
Autre
Langues
English
Deutsch
Français
Español
Português
Nederlands
Dansk
Русский
日本語
Italiano
简体中文
한국어
Autre
Montrer carte totale
Copier éditer carte
Copier
Chemical Equilibrium
WS
Warumporn Singhaphan
Suivre
Lancez-Vous.
C'est gratuit
S'inscrire avec Google
ou
s'inscrire
avec votre adresse e-mail
Cartes mentales similaires
Plan de carte mentale
Chemical Equilibrium
par
Warumporn Singhaphan
1. โคบอลต์ไอออน เป็นโครงสร้างแบบออกตระฮีดรัล สารละลายนี้มีสีชมพู ซึ่งจะใช้สารละลายนี้ในการศึกษาหาความเข้มข้นและอุณหภูมิที่มีต่อระบบ
2. อุปกรณ์และสารเคมี
2.1. 1. หลอดทดลองขนาด10 และ 20 ลบ.ซม.
2.2. 2. ขวดรูปชมพู่ขนาด150 ลบ.ซม.
2.3. 3.บีกเกอร์ขนาด 50 ลบ.ซม.
2.4. 4.กระบอกตวงขนาด 10 ลบ.ซม.
2.5. 5.เทอร์โมมิเตอร์
2.6. 6.กระดาษกรอง
2.7. 7.CoCl2 .6H2O
2.8. 8.Co(No3)2.6H2O
2.9. 9.สารละลาย 0.4 M CoCl2
2.10. 10. สารละลาย 0.4 M Co(NO3)2
2.11. 11. สารละลาย 0.4 M Co(NO3)2 ในเอธานอล
2.12. 12. เอธานอล
2.13. 13. อะซิโทน
2.14. 14. กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น (conc HCL)
3. วิธีทดลอง
3.1. 1. หาสถานะสมดุล โดยการเอาผลึกที่ต้องการทดลองมาทำการทดลอง เพื่อหาสีของสารละลาย โดยใช้หลักของสมดุลเคมี
3.2. 2. ความเข้มข้นต่อสถานะสมดุล เปรียบความเข้มข้นของสารลายที่ต่างกัน ทดสอบด้วยกรด HCl ได้ผลการทดลองโดยการเปรียบเทียบในการการใช้ปปริมาณ Cl
3.3. 3.อุณหภูมิต่อภาวะสมดุล นำสารละลายที่ได้จากการทดลองมาทดลองโดยแช่ไว้ที่อุณหภูมิต่างกัน เช่น ที่อุณหภูมิห้อง แช่ในน้ำร้อน และน้ำแข็ง
4. ที่สถานะสมดุลได้ค่า Kc
4.1. Kc คือค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่อุณหภูมิหนึ่งได้จากผลคูณของผลิตภัณฑ์ยกกำลังด้วยโมลของแต่ละผลิตภัณฑ์นั้น หารด้วยผลคูณของสารตั้งต้นยกกำลังด้วยโมลของสารตั้งต้นแต่ละสารนั้น
5. Le' Chatelier Principle
5.1. ตามหลักของเลอชาเตลิเยร์ กล่าวไว้ว่า ถ้ารบกวนสมดุลของระบบ เช่น การเปลี่ยนแปลง ความเข้มข้น ความดัน หรืออุณหภูมิ) ระบบ จะเสียสมดุลไปแล้วระบบจะปรับตัวให้เข้าสู่สถานะสมดุลใหม่อีกครั้งโดยเกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ทำให้การรบกวนลดลง
6. Forward = Reverse
6.1. Dynamic equilibrium(สมดุลไดนามิก)
7. Reverse reaction rate(อัตราปฏิกิริยาย้อนกลับ)
8. Forward reaction rate (อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า)
Lancez-vous. C'est gratuit!
Connectez-vous avec Google
ou
S'inscrire