ค่าคงที่ผลคูณการละลายและความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ค่าคงที่ผลคูณการละลายและความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ by Mind Map: ค่าคงที่ผลคูณการละลายและความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

1. วัตถุประสงค์

1.1. เพื่อหาค่าคงที่ผลคูณการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

1.2. เพื่อศึกษาอิทธิผลของไอออนร่วมที่มีต่อสมดุลของแคลเซียมไฮดรอกไซค์

2. บทนำ

2.1. สารละลายอิ่มตัว ( saturated solution ) ที่ละลายน้ำได้น้อยจะเกิดการสมดุลระหว่าง เกลือส่วนที่ละลายหมด กับที่อยุ่ในรูปของของเเข็งในสารละลาย

3. KEYWORDS

3.1. solubility

3.2. solubility product constant

3.3. common ion effect

4. "ค่าคงที่ผลคูณการละลายของสารละลาย" ( solubility product constant,Ksp )

4.1. Ksp ในสารละลายเกลือที่ละลายน้ำได้น้อย = ผลคูณความเข้มเข้นไอออน (mol/l) ยกกำลังด้วยสัมประสิธิจำนวนโมลของไอออนนั้น

4.2. การละลายของเกลือจะลดลง ถ้า เพิ่มความเข้มข้นของไออนบวก/ไออนลบ

4.2.1. เรียกว่า "ไออนร่วม " ( common ion )

4.2.2. สมดุลของสารละลายเกิดการเปลี่ยนแปลงย้อนมาทางซ้าย มากขึ้น

4.2.3. ตามหลักของเลอชาเตอลิเยร์ ( Le Chatelier Principle )

5. ค่าคงที่ผลคูณสารละลาย = ค่าคงที่สมดุลของสาร ละลาย

5.1. Ksp = K

6. เครื่องมือ

6.1. ขวดรูปชมพู่

6.2. บิวเรต

6.3. กรวยแก้วและกระดษากรองเบอร์ 1

6.4. ปิเปต

6.5. บีกเกอร์

6.6. กระบอกตวง

7. สารเคมี

7.1. สารละลายอิ่ตัวของแคลเซียมไฮดรกไซด์

7.1.1. สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ 3 กรัมในน้ำ 1 ลิตร

7.2. สารละลายกรดเกลือเจอจางความเข้มข้น 0.01 โมลต่อลิตร

7.3. สารละลายฟินอล์ทาลีน

7.4. ผงแคลเยมคลอไรด์

8. การทดลอง

8.1. ตอนที่ 1 เตรียมสารละลายอิ่มตัวของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ในน้ำกลั่น

8.1.1. 1. เติมผงแคลเซียมไฮดรอกไซด์ 3 กรัมในน้ำ1 ลิตร ,กวน

8.1.2. 2. ทิ้งให้ตกตะกอน อย่างน้อย 1 ชม.

8.1.3. 3.กรองสารละลายด้วยกระดาษกรอง ใช้ เฉพาะส่วนที่ใส

8.2. ตอนที่ 2 การหาความสามารถในการละลายของแคลเซียมไฮดรอกไซด์และ ความเข้มข้นของ OH ในสารละลายอิ่มตัวของแคลเซียมไฮดรอกไซด์

8.2.1. 1. บรรจุสารละลายมาตรฐานกรดเกลือเจือจางเข้มข้น 0.01 mol/l ลงในบิวเรต

8.2.2. 2. ปิเปตสารตอนที่ 1 มาใส่ขวดรูป ชมพู่ 2 ใบ ใบละ 5.00 ลุกบาศก์เซนติเมตร

8.2.3. 3. เติมน้ำกลั่น 25.00 ลุกบาศก์เซนติเมตร

8.2.4. 4. เติมฟีนอล์ฟทาลีน 1 หยด

8.2.5. 5. ไทเทรต ด้วสารละลายกรดเกลือ เมื่อยุติ สารละลายจะเปลี่ยนจากสีชมพู เป้น ไม่มีสี

8.2.6. 6. บันทึกปริมาตรของสารละลายกรดเกลือ

8.3. ตอนที่ 3 ผลของไอออนร่ม ต่อค่า Ksp

8.3.1. 1.ปิเปตสารตอนที่ 1 มา 50.00 ลุกบาศก์เซนติเมตร ใส่ขวดชมพู่

8.3.2. 2. เติม แคลเซียมไฮดรอกไซด์ ลง ไป 0.5 กรัม,สังเกตสารจะขุ่น

8.3.3. 3. กรองตะกอนออก

8.3.4. 4. นำส่วนใสไปไทเทรตหา OH