1. ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.1. ภาวะพร่องออกซิเจนจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนแก๊สลดลง
1.1.1. ข้อมูลสนับสนุน
1.1.1.1. S:ผู้ป่วยบอกว่าหายใจเหนื่อย มีเสมหะในลำคอ ขับไม่ออก
1.1.1.2. O:ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงหวีดทั้งสองข้าง ค่าO sat 92% Hct 41 . 5 %
1.1.2. จุดมุ่งหมายการพยาบาล
1.1.2.1. ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ
1.1.3. เกณฑ์การประเมินผล
1.1.3.1. ค่าความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด ไม่ต่ำกว่า 95%
1.1.3.2. ไม่มีอาการของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น หายใจหอบเหนื่อย ปลายมือปลายเท้าเขียว
1.1.3.3. ทางเดินหายใจโล่งไม่มีเสมหะ
1.1.3.4. อัตราการหายใจอยู่ในช่วง 16-24 ครั้ง/นาที
1.1.3.5. Hb = 12 - 16 g/dl
1.1.3.6. Hct = 38 - 47 %
1.1.4. กิจกรรมการพยาบาล
1.1.4.1. ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจร สีของเล็บ ปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวหนัง ลักษณะการซีด เขียวที่แสดงถึงการพร่องออกซิเจน เพื่อรายงานแพทย์พิจารณาให้ออกซิเจน
1.1.4.2. จัดท่านอนศีรษะสูง เพราะทำให้กระบังคมเคลื่อนต่ำลง ปอดขยายตัวได้เต็มที่เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซมากขึ้น
1.1.4.3. ดูแลให้ ผู้ป่วยพักผ่อนบนเตียง ดูแลให้ออกซิเจนทางหน้ากากแบบใช้เครื่องช่วยหายใจ ( Non Invasive )
1.1.4.4. ประเมิน o2 saturation ทุก 4 ชม เพราะเป็นการวัดระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
1.2. ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
1.2.1. ข้อมูลสนับสนุน
1.2.1.1. S:ผู้ป่วยบอกว่าหายใจเหนื่อย มีเสมหะในลำคอ ขับไม่ออก
1.2.1.2. O: ค่าWBC 13 , 600 cell/mn Neutrophil 69 . 6 % Lymphocyte 24 . 9 %
1.2.1.3. มีเสมหะเหนียวข้นที่ทางเดินหายใจ
1.2.2. จุดมุ่งหมายการพยาบาล
1.2.2.1. ลดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
1.2.3. เกณฑ์การประเมินผล
1.2.3.1. ไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อทางเดินหายใจ
1.2.3.2. สัญญาณชีพอยู่ในภาวะปกติ
1.2.3.2.1. อัตราการหายใจ 16-20 ครั้งต่อนาที
1.2.3.2.2. ชีพจร 60-100 ครั้ง/นาที
1.2.3.2.3. ความดันโลหิต
1.2.3.2.4. หายใจเหนื่อยหอบ อัตรา 30 ครั้ง/นาที
1.2.3.3. ค่าWBC เป็น5000-10000 cell/mm
1.2.4. กิจกรรมการพยาบาล
1.2.4.1. ติดตามวัดสัญญาณชีพ | สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่บ่งถึงการติดเชื้อ เช่น อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
1.2.4.2. ดูแลความสะอาดของร่างกายในจัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาดปลอดโปร่ง
1.2.4.3. สังเกตลักษณะสีและปริมาณของเสมหะเก็บเสมหะส่งตรวจและติดตามผล
1.2.4.4. ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
1.3. เสี่ยงต่อภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจจากหอบหืด
1.3.1. ข้อมูลสนับสนุน
1.3.1.1. O:ผู้ป่วยหายใจหอบเหนื่อย มี เสมหะเหนียวข้นที่ทางเดินหายใจ ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงหวีดทั้งสองข้าง ค่าO sat 92% Hct 41 . 5 %
1.3.1.2. S:ผู้ป่วยบอกว่าหายใจเหนื่อย มีเสมหะในลำคอ ขับไม่ออก
1.3.2. จุดมุ่งหมายการพยาบาล
1.3.2.1. ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะอุดกั้นทางเกิดหายใจจากหอบหืด
1.3.3. เกณฑ์การประเมินผล
1.3.3.1. ทางเดินหายใจโล่ง ไม่มีเสมหะอุดกั้น
1.3.3.2. ไม่พบเสียงผิดปกติที่ปอดทั้งสองข้าง
1.3.3.3. ค่า O2 sat มากกว่า 95%
1.3.3.4. ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น
1.3.4. กิจกรรมการพยาบาล
1.3.4.1. ประเมินภาวะการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
1.3.4.2. แนะนำการไออย่างถูกวิธีเพื่อให้เสมหะหลุด ไม่มีการคั่งค้างในปอด
1.3.4.3. จัดท่านอนศีรษะสูง เพราะทำให้กระบังคมเคลื่อนต่ำลง ปอดขยายตัวได้เต็มที่เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซมากขึ้น
1.3.4.4. ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษาของแพทย์
1.4. วิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
1.4.1. ข้อมูลสนับสนุน
1.4.1.1. S:ผู้ป่วยบอกว่ารู้สึกอึดอัดกลัวในการหายใจในที่แคบๆผ่านทางหน้ากาก
1.4.1.2. O:ผู้ป่วยมีสีหน้ากังวล ไม่สดชื่น
1.4.2. จุดมุ่งหมายการพยาบาล
1.4.2.1. คลายความกังกลของผู้ป่วยและให้ทราบถึงภาวะที่ผู้ป่วยเป็นและแนวทางการักษาที่ได้รับ
1.4.3. เกณฑ์การประเมินผล
1.4.3.1. ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น ไม่แสดงความกังวล
1.4.3.2. ผู้ป่วยบอกอาการเจ็บป่วยและแนวทางการรักษาที่ต้องได้รับได้
1.4.4. กิจกรรมการพยาบาล
1.4.4.1. ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงเพื่อลดความอึดอัดกลัวการหายใจผ่านหน้ากาก
1.4.4.2. สร้างสัมพันธภาพที่ดี กับผู้ป่วยและญาติ การพูดคุยเอาใจใส่สอบถามอาการอย่างเป็นกันเองและอัธยาศัยที่ดี
1.4.4.3. ช่วยเหลือผู้ป่วยเปลี่ยนเสื้อผ้า
1.4.4.4. ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ ให้กำลังใจผู้ป่วยเพื่อลดความวิตกกังวล
1.5. พร่องความรู้ในการปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับโรคหอบหืด
1.5.1. ข้อมูลสนับสนุน
1.5.1.1. ผู้ป่วยไม่ทราบการปฏิบัติตนให้เหมาะสมเกี่ยวกับโรค
1.5.2. จุดมุ่งหมายการพยาบาล
1.5.2.1. ผู้ป่วยสามารถบอกการปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับโรคหอบหืดได้
1.5.3. เกณฑ์การประเมินผล
1.5.3.1. ผู้ป่วยแสดงความเข้าใจในคำแนะนำ
1.5.3.2. ผู้ป่วยบอกได้ถึงภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้หากปฏิบัติตนได้ไม่ถูกต้อง
1.5.3.3. ผู้ป่วยสามารถบอกการปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับโรคได้
1.5.4. กิจกรรมการพยาบาล
1.5.4.1. ประเมินการรับรู้ของผู้ป่วย ต่อภาวะสุขภาพ
1.5.4.2. ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
1.5.4.2.1. หลีกเลี่ยงสารภูมิแพ้จากการทำงาน คือ ฝุ่นพลาสติกจากโรงงาน
1.5.4.2.2. ให้ใส่ผ้าปิดจมูกขณะทำงาน
1.5.4.2.3. เลี่ยงการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดอาการของโรค
1.5.4.2.4. หลีกเลี่ยงการได้รับควันบุหรี่จากสามี
2. อ้างอิง สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย.(2558).แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหอบหืด(สำหรับผุ้ป่วยผู้ใหญ่).กรุงเทพฯ:สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2563
3. นางสาวสุพัตราทับทิมทอง รุ่น 36/2 เลขที่44 612001125
4. อาการ
4.1. อาการที่นำมาร.พ.
4.1.1. หายใจหอบเหนื่อย
4.1.2. มีเสมหะในลำคอ ขับไม่ออก
4.2. อาการแรกรับ
4.2.1. ได้ยินเสียงหวีดที่ปอด2ข้าง
4.2.2. อุณหภูมิร่างกาย 36 . 7 c ชีพจร 144 ครั้ง นาที อัตราการหายใจ 30 ครั้ง / นาที ความดันโลหิต 139 /92 mmHg วัดความอิ่มตัวของออกซิเจน ปลายนิ้วได้ 92 %
4.2.3. หายใจเร็ว หอบลึก
4.2.4. หายใจยังหอบเหนื่อย
4.3. ที่หอผู้ป่วยวิกฤต
4.3.1. แรกรับ
4.3.1.1. หลังได้รับการให้ออกซิเจนหายใจหอบเหนื่อยลดลง
4.3.1.2. อุณหภูมิ 37 . 7° C ชีพจร 132 ครั้ง / นาที อัตราการหายใจ 24 ครั้ง / นาที ความดันโลหิต11 / 54 mmHg ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนได้ 100 %
4.3.1.3. วัดสัญญาณชีพ อุณหภูมิ 37°C ชีพจร 110 ครั้ง / นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง / นาที ความดันโลหิต 100 / 66 mmHg วัดความอิ่มตัวของ ออกซิเจนปลายนิ้วได้ 98 %
4.3.1.4. ได้ยินเสียงหวีดที่ปอด2ข้าง
4.3.2. วันรุ่งขึ้น
4.3.2.1. สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 37 . 8 °C ชีพจร 134ครั้ง / นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง / นาที ความดัน โลหิต 106 / 48 mmHg วัดความอิ่มตัวของออกซิเจนปลายนิ้วได้ 98 %
4.3.2.2. ไม่ม่มีเสมหะ หายใจไม่หอบเหนื่อย
4.3.2.3. ผู้ป่วยรู้สึกตัวดีช่วยเหลือตนเองได้ดี หายใจไม่หอบเหนื่อย
4.3.2.4. หายใจออกมีเสียงหวีดเล็กน้อย
4.4. ที่หอผู้ป่วยสามัญ
4.4.1. สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 37 °Cชีพจร 100 ครั้ง / นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง / นาที ความดันโลหิต 120 / 60 mmHg ความอิ่มตัวของออกซิเจนปลายนิ้วได้ 97 %
4.4.2. ไม่มีเสียงหวีดหรือเสียงผิดปกติอื่นๆ
4.4.3. ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น หอบเหนื่อยลดลง ไม่ต้องใช้เครื่องให้ออกซิเจน
4.4.4. ทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
5. สาเหตุ
5.1. ภายนอก
5.1.1. สูดดมหรือการหายใจเข้าไป
5.1.1.1. ฝุ่นละออง
5.1.1.1.1. ผู้ป่วยสัมผัสฝุ่นจาการทำงาน
5.1.1.2. ละอองดอกไม้
5.1.1.3. ควัน เช่น บุหรี่
5.1.1.3.1. ได้รับควันจากบุหรี่ที่สามีสูบ
5.1.1.4. ขนสัตว์
5.1.1.5. ความเย็น
5.1.1.6. ความชื้น
5.1.2. รับประทานเข้าไป
5.1.2.1. นม
5.1.2.2. ถั่วบางชนิด
5.1.2.3. เนื้อสัตว์
5.1.2.4. อาหารทะเล
5.2. ภายใน
5.2.1. มักมีอาการเมื่ออายุมากขึ้น
5.2.2. มีประวัติการติดเชื้อบ่อยๆหรือเรื้อรัง
6. พยาธิสรีรวิทยาและกลไกการเกิดโรค
6.1. ในผู้ป่วยหอบหืดนั้นการตีบของหลอดลมทำให้เกิดความต้านทาน (airway resistance) เพิ่มสูงขึ้น ทำให้มีผลต่อการหายใจออก(expiration) เกิดเป็นเสียงหวีด ส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนกาซที่ไม่สมดุล (ventilation perfusion mismatch) และมีภาวะพร่องออกซิเจนในเลือดตามมาการตีบของหลอดลมในผู้ป่วย หอบหืดนั้นเกิดได้จากกลไกที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมนั้น มีการหดเกร็งตัวผิดปกติ(abnormal smooth muscle contraction) การอักเสบของเยื่อบุหลอดลม (mucosal edema and inflammation) ทำให้มีการบวมของ เยื่อบุหลอดลม และการมีเสมหะอุดในหลอดลม (mucus plugging)
6.2. การเปลี่ยนแปลงที่พนังหลอดลมตีบแคบลง
6.2.1. กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมหดตัว
6.2.2. ต่อมที่พนังหลอดลมขับมูกออกมา
6.2.3. พนังหลอดลมบวม และมีเลือดคั่ง
6.2.4. การเปลี่ยนดังกล่าวมีผลทำให้เกิด
6.2.4.1. สมรรภาพการทำงานของปอดลดลง
6.2.4.2. มีอากาศค้างอยู่ภายในปอดมากหลังหายใจออก
6.2.4.3. ออกซิเจนในเลือดลดลง
7. แนวทางการรักษา
7.1. แรกรับ
7.1.1. ห้พ่นยาขยายหลอดลม Ventolin I ml ผสม 0 . 9 % NSS 3 ml ทางเครื่องพ่นยาให้เป็นละอองฝอย 3 ครั้ง
7.1.2. พ่นยาขยายหลอดลม Beradual 2 ml ผสม 0 . 9 % NSS 2 ml ทางเครื่องพ่นยาให้เป็นละอองฝอย 2 ครั้ง
7.1.3. ฉีดยา Dexamethasone 10 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ 1 ครั้ง
7.1.4. ดูแลให้ออกซิเจนcannula 3 ลิตร / นาที
7.2. รักษาต่อที่หอผู้ป่วยวิกฤต
7.2.1. ค่าปริมาตรอากาศการช่วยหายใจ ( Tidal Volume ) เท่ากับ 500 ml ออกซิเจน 100 % อัตราการ หายใจ 18 ครั้ง / นาที ค่าแรงดันในปอดช่วงการหายใจออกสุด ( PEEP ) เท่ากับ 3
7.2.2. สัญญาณชีพแรกรับ อุณหภูมิ 37 . 7° C ชีพจร 132 ครั้ง / นาที อัตราการหายใจ 24 ครั้ง / นาที ความดันโลหิต111 / 54 mmHg ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนได้ 100 %
7.2.3. ดูแลให้ออกซิเจนทางหน้ากากแบบใช้เครื่องช่วยหายใจ ( Non Invasive ) โดยตั้งเครื่อง ดังนี้
7.2.3.1. ช่วงเวลาในการหายใจเข้าต่อช่วงเวลาในการหายใจออก ( I - E ) เท่ากับ 1 : 1 . 7 - ปริมาตรอากาศในการหายใจเข้าออก ( Tidal Volume ) ของผู้ป่วยแต่ละครั้ง มีค่าประมาณ 600 - 700 ml
7.2.4. พ่นยา Bernadual 2 ml ผสม 0 . 99 % NSS 2 ml พ่นทางเครื่องพ่นยาให้เป็นละอองฝอย ทุก 2 ชั่วโมง
7.2.5. ฉีดยา Dexamethasone 5 mg ทางหลอดเลือดดำทุก 6 ชั่วโมง
7.2.6. ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำชนิด 5 % D/N / 2 1000 ml rate 80 m / hr . ให้งดน้ำและอาหาร
7.2.7. ให้รับประทานยา meptin ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง ก่อน อาหารเช้าเย็น
7.2.8. บันทึกI/O
7.2.9. เช้าวันถัดมา
7.2.9.1. พ่นยาขยายหลอดลม Beradual 2 ml ผสม 0 . 9 % NSS 2 ml ทาง เครื่องพ่นยาให้เป็นละอองฝอย พ่นทุก 2 ชั่วโมง
7.2.9.2. ฉีดยา Dexamethasone 5 mg ทางหลอดเลือดดำทุก 8 ชั่วโมง
7.2.9.3. เมื่อสารน้ำหมด เปลี่ยนเป็น NSS Lock สำหรับฉีดยาทางหลอดเลือดดำ