ประวัติการศึกษาไทยใน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ประวัติการศึกษาไทยใน by Mind Map: ประวัติการศึกษาไทยใน

1. สมัยปฏิรูปการศึกษา

1.1. การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

1.1.1. ปรับปรุงแนวคิดในการจัดการศึกษาขึ้นเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ

1.1.2. ปรับปรุงแนวคิดในการจัดการศึกษาขึ้นเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ

1.1.3. วามต้องการบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ เข้ามารับราชการเนื่องจากพระองค์ทรงปรับปรุงและขยายงานในส่วนราชการต่างๆ จึงจำเป็นต้องจัดตั้งโรงเรียนเพื่อสอนคนให้เข้ามารับราชการ

1.1.4. โครงสร้างของสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลง โดยมีการเลิกทาสและมีการติดต่อกับต่างประเทศมากขึ้น วัฒนธรรมแบบอย่างตะวันตกได้แพร่หลายจึงจำเป็นต้องการปรับปรุงการศึกษา เพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาเพิ่มขึ้น

1.1.5. การที่พระองค์ได้เสด็จต่างประเทศทั้งในเอเชียและยุโรป ทำให้ได้แนวความคิดเพื่อนำมาปฏิรูปการศึกษาและใช้เป็นแนวทางพัฒนาบ้านเมือง

1.2. การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

1.2.1. สร้างความรู้สึกชาตินิยมในหมู่ประชาชนชาวไทยโดยมีสาระสำคัญของอุดมการณ์ชาตินิยม คือ ความรักชาติ ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และความยึดมั่นในพุทธศาสนา

1.2.2. พระองค์ทรงศึกษาวิชาการจากต่างประเทศ และเมื่อเสด็จกลับมาแล้วพระองค์ได้ทรงนำเอาแบบอย่างและวิธีการที่เป็นประโยชน์มาใช้เป็นหลักในการปรับปรุงการศึกษา

1.2.3. ผลอันเนื่องจากการจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อคนส่วนมากที่ได้รับการศึกษา มีความรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการปกครองประเทศในระบอบรัฐธรรมนูญในระบบรัฐสภา จึงมีความปรารถนาจะเปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบประชาธิปไตย และปัญหาอันเกิดจากคนล้นงานและคนละทิ้งอาชีพและถิ่นฐานเดิม มุ่งที่จะหันเข้าสู่อาชีพราชการมากเกินไป

1.3. การจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

1.3.1. ปัญหาสืบเนื่องจากอิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก

1.3.2. ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ มีกลุ่มผู้ตื่นตัวทางการเมืองในกรุงเทพมหานคร เรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มีการวิพากษ์วิจารณ์ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช

1.3.3. ปัญหาสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ในระหว่าง พ.ศ.2463 - พ.ศ. 2474 เศรษฐกิจของประเทศตกต่ำ จนเป็นเหตุให้รัฐบาลต้องตัดทอนรายจ่ายลง มีการยุบหน่วยงานและปลดข้าราชการออก สร้างความไม่พอใจให้กับรัฐบาลระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

1.3.4. ปัญหาสืบเนื่องจากการประกาศใช้กฎหมายการศึกษา

2. การศึกษาไทยในปัจจุบัน

2.1. มีการเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตย

2.2. นโยบายการจัดการศึกษาโดยคณะราษฏร์

2.2.1. หลัก 6 ประการข้อที่ 6 ให้การศึกษากับราษฏร์อย่างเต็มที่

2.3. การเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2

2.3.1. ไทยได้รับการช่วยเหลือด้านต่างๆ แนวคิดใหม่ทำให้การศึกาาไทยเริ่มเปลี่ยนแปลง

2.4. วิทยาการการจัดการการศึกษา

2.4.1. ประกาศใช้แผนการศึกษาชาติหลังจากเปลี่ยนระบอบ

2.4.2. ปรับปรุงการจัดการศึกษาจาก 6 ปี เหลือ 4 ปี

2.4.3. มอบให้ท้องถื่นจัดการศึกษา

2.4.4. ยกฐานะท้องถื่นเป็นเทศบาลตราพระราชบัญญัติเทศบาล

2.4.5. ปรับปรุงหน่วยงานที่เกี่ยงกับการจัดการศึกษา

2.5. เหตุการณ์สำคัญ

2.5.1. ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา

2.5.2. แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 4

2.5.3. จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกืจและสังคม

2.5.4. ยุบและจัดตั้งสภาการศึกษา

3. สมัยโบราณ

3.1. สมัยสุโขทัย

3.1.1. ลักษณะการศึกษา

3.1.1.1. ฝ่ายอาณาจักร

3.1.1.1.1. ครู=นักปราชญ์ในสำนักราชบัณฑิต

3.1.1.1.2. นักเรียน=เจ้านายบุตรหลาน ข้าราชการ

3.1.1.1.3. วัตถุประสงค์=ความรู้ด้านอักษรศาสตร์ หรือวิชาชีพ

3.1.1.1.4. สถานศึกษา=ในวัง

3.1.1.2. ฝ่ายศาสนาจักร

3.1.1.2.1. ครู=พระภิกษุ

3.1.1.2.2. นักเรียน=เพศชาย บุตรหลานขุนนางและราษฎร

3.1.1.2.3. สถานศึกษา=วัด

3.1.2. สถานศึกษา

3.1.2.1. บ้าน

3.1.2.1.1. ถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีพตามบรรพบุรุษ

3.1.2.2. สำนักสงฆ์

3.1.2.2.1. ขัดเกลาจิตใจแสวงหาธรรมมะ

3.1.2.3. สำนักราชบัณฑิต

3.1.2.3.1. ขุนนาง บสงคนเคยบวช จึงมีความรู้หลายแขนง

3.1.2.4. พระราชสำนัก

3.1.2.4.1. วัตถุประสงค์=ความรู้ทางศาสนา

3.1.2.4.2. สถานศึกษาราชวงศ์

3.1.3. วิชาที่สอน ไม่ได้กำหนดตายตัว

3.1.3.1. ความรู้สามัญ

3.1.3.2. วิชาชีพ

3.1.3.2.1. เรียนตามแบบบรรพบุรุษ

3.1.3.3. จริยศึกษา

3.1.3.3.1. เคารพนับถือบรรพบุรุษ

3.1.3.4. ศิลปะป้องกันตัว

3.1.3.4.1. การใช้อาวุธ

3.2. อยุธยา

3.2.1. รูปแบบการจัดการศึกษา

3.2.1.1. วิชาสามัญ

3.2.1.1.1. อ่าน เขียน เรียนเลข

3.2.1.2. ศาสนา

3.2.1.2.1. บวชเรียนเขียนมาก่อนจึงมีโอกาสเป็นข้าราชการ

3.2.1.3. ภาษาศาสตร์และวรรรคดี

3.2.1.3.1. สอนภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั้งเศส เขมร พม่า มอญและจีน

3.2.1.4. การศึกษาของผู้หญิง

3.2.1.4.1. เรียนวิชาชีพ เรือนครัว

3.2.1.5. ด้านทหาร

3.2.2. สถานศึกษา

3.2.2.1. เหมือนสมัยสุโขทัยมีโรงเรียนมิชชันนารี เพื่อให้ชาวตะวันตกเผบแพร่ศาสนา

3.2.3. วิชาที่สอน

3.2.3.1. วิชาสามัญ

3.2.3.1.1. อ่านเขียนเลข

3.2.3.2. วิชาชีพ

3.2.3.2.1. ผู้ชาย

3.2.3.2.2. ผู้หญิง

3.2.3.3. หลังชาติอตะวันตกเข้ามามีการเรียนด่านดาศาสตร์และด้านวิชาชีพสูงๆ

3.2.4. อักษรศาสตร์

3.2.4.1. มีวรรรคดีหลายเล่มเกิดขึ้น

3.2.5. จริยศึกษา

3.2.5.1. เน้นพระพุทธศาสนามากขึ้น

3.2.6. พลศึกษา

3.2.6.1. เน้นด้านทหาร

3.3. สมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น

3.3.1. ใช้รูปแบบเดียวกับอยุธยา

3.3.2. พระเจ้ากรุงธน

3.3.2.1. รวบรวมตำราต่างๆ

3.3.3. รัชกาลที่1

3.3.3.1. แต่งรามเกียรติ

3.3.4. รัชกาลที2

3.3.4.1. โปรตุเกสเข้ามาติดต่อค้าขาย มีการปฏิวัติอุสาหกรรม

3.3.5. รัชกาลที่3

3.3.5.1. จารึกวิชาความรู้และวิชาสามัญลงในศิลาไว้ตามระเบียงวัด

3.3.6. รัชกาลที่4

3.3.6.1. ชาวยุโรปเข้ามาติดต่อค้าขายและสอนศาสนา

3.3.6.2. จ้างนางแอนนา เอช เลียวโนเวนส์ มาสอนภาษาพระเจ้าลูกยาเธอ