การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม by Mind Map: การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

1. โครโมโซม

1.1. ลักษณะรูปร่างและจำนวนของโครโมโซม

1.1.1. คล้ายเส้นด้ายบางๆเรียก โครมาทิน

1.1.2. โครมาทินหดตัวเป็นแท่งเรียก โครโมโซม

1.1.3. มีแขขนสองข้างเรียก โครมาทิด

1.1.4. จุดเชื่อมกันเรียก เซนโทรเมียร์

1.2. ประเภทต่างๆของโครโมโซม

1.2.1. เมทาเซนทริก

1.2.1.1. แขนสองข้างเท่ากันหรือเกือบเท่ากัน

1.2.2. ซับเมทาเซนทริก

1.2.2.1. แขนสองข้างไม่เท่ากัน

1.2.3. อะโครทาเซนทริก

1.2.3.1. เซนโทรเมียร์อยู่ใกล้ปลายข้างใดข้างหนึ่ง

1.2.4. เทโลเซนทริก

1.2.4.1. เซนโทรเมียร์อยู่ปลายสุด

1.3. จำนวนโครโมโซม

1.3.1. ดิพลอยด์ 2n

1.3.2. แฮร์พลอยด์ n

2. มิวเทชัน

2.1. ชนิดของมิวเทชัน

2.1.1. พอยท์มิวเทชัน

2.1.1.1. แทนที่คู่เบสหรือแทรกเข้าไป

2.1.1.1.1. ไซเลนท์มิวเทชัน

2.1.1.1.2. มิสเซนส์มิวเทชัน

2.1.1.1.3. นอนเซนส์มิวเทชัน

2.1.1.2. การเพิ่มขึ้นหรือขาดหายไปของนิวคลีโอไทด์

2.1.2. โครโมโซมมิวเทชัน

2.1.2.1. ชิ้นส่วนของโครโมโซมขาดหาย

2.1.2.1.1. กลุ่มอาการคริดูชาต์

2.1.3. การกลายระดับจีโนม

2.1.3.1. โครโมโซมขาดหายหรือเพิ่มขึ้น

2.1.3.2. กลุ่มอาการ

2.1.3.2.1. กลุ่มอาการดาวน์

2.1.3.2.2. กลุ่มอาการพาทัว

2.1.3.2.3. กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด

2.1.3.2.4. กลุ่มอาการเทอร์เนอร์

2.1.3.2.5. กลุ่มอาการไคลน์เฟลเทอร์

2.1.3.2.6. กลุ่มอาการดับเบิลวาย

2.2. สาเหตุของมิวเทชัน

2.2.1. เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ

2.2.2. เกิดจากการชักนำ

2.2.2.1. สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางกายภาพ

2.2.2.2. สิ่งก่อกลายพันธ์ุทางเคมี

3. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA

3.1. นิวคลีอิก

3.1.1. DNA

3.1.1.1. นิวคลีโอไทด์

3.1.1.1.1. 2 สายเรียงตัวสลับทิศทาง

3.1.2. RNA

3.1.2.1. นิวคลีโอไทด์

3.1.2.1.1. สายเดียว

3.2. นิวคลีโอไทด์

3.2.1. น้ำตาลดีออกซีไรโบส

3.2.2. ไนโตรจีนัสเบส

3.2.2.1. เบสพิวรีน

3.2.2.1.1. กวานีน G

3.2.2.1.2. อะดีนีน A

3.2.2.2. เบสไพริมิดีน

3.2.2.2.1. ไซโทซีน C

3.2.2.2.2. ไทมีน T

3.2.3. หมู่ฟอตเฟต

3.3. กฎของชาร์กาฟฟ์

3.3.1. A = T

3.3.2. C = G

4. สมบัติของสารพันธุกรรม

4.1. สมบัติสำคัญ

4.1.1. ต้องสามารถเพิ่มจำนวนตัวเองได้โดยมีลักษณะเหมือนเดิม

4.1.2. สามารถควบคุมให้เซลล์สังเคราะห์สารต่างๆ

4.1.3. ต้องสามารถเปลี่ยนแปลงได้บ้าง

4.2. DNA

4.2.1. การสังเคราะห์ DNA

4.2.2. DNA ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน

4.2.2.1. กระบวนการลอกรหัส

4.2.2.1.1. mRNA

4.2.2.1.2. tRNA

4.2.2.1.3. rRNA

4.2.2.2. กะบวนการแปลรหัส

5. การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล

5.1. ถั่วลันเตา

5.1.1. เป็นพืชที่ผสมตัวเอง

5.1.2. เป้นพืชที่ปลูกง่าย

5.1.3. มีลักษณะทางพันธุกรรมแตกต่างกันชัดเจน

5.1.3.1. รูปร่างเมล็ด

5.1.3.2. สีเมล็ด

5.1.3.3. สีดอก

5.1.3.4. สีฝัก

5.1.3.5. รูปร่างฝัก

5.1.3.6. ความสูงลำต้น

5.1.3.7. ตำแหน่งดอก

5.2. แอลลีล

5.2.1. Homozygous dominant

5.2.2. Heterozygous dominant

5.2.3. Homozygous recessive

5.3. ความแปรผัน

5.3.1. แปรผันต่อเนื่อง

5.3.2. แรผันไม่ต่อเนื่อง

6. กฎของเมนเดล

6.1. กฎการแยก

6.2. กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ

7. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ นอกเหนือกฎของเมนเดล

7.1. เด่นไม่สมบูรณ์

7.2. กข่มร่วมกัน

7.3. มัลติเปิลแอลลีล

7.4. พอลิยีน

7.5. ยีนในโครโมโซมเพศ

7.5.1. แบบโครโมโซม

7.5.1.1. หญิง XX

7.5.1.2. ชาย XY

7.5.2. โรคที่ถ่ายทอดบนโครโมโซม X

7.5.2.1. ฮีโมฟีเลีย

7.5.2.2. ภาวะบกพร่องเอนไซม์ G-6-PD

7.5.2.3. ตาบอดสี

7.6. ยีนบนโครโมโซมเดียวกัน

7.7. พันธุกรรมที่เกิดขึ้นกับอิทธิพลของเพศ

7.7.1. ลักษณะหัวล้าน

7.8. พันธุกรรมจำกัดเพศ

7.8.1. ลักษณะของหางไก่

7.9. พันธุประวัติ เพดดีกรี หรือพงศาวลี

7.9.1. ถ่ายทอดจากชั่วอายุหนึ่งไปชั่วอายุหนึ่ง

8. การถ่ายทอดยีนทางโครโมโซม

8.1. การแบ่งเซลล์

8.1.1. ไมโทซิส

8.1.2. ไมโอซิส

8.2. สมมติฐานของวอลเตอร์ เอส ซัตตัน

8.2.1. ยีนมี 2 ชุด

8.2.2. ยีนและโครโมโซมถ่ายทอดไปยังลูกหลาน

8.2.3. มีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส

8.2.4. กรแยกตัวของโครโมโซมที่เป็นคู่กันไปยังขั้วเซลล์

8.2.5. กรวมกันของเซลล์ไข่และสเปิร์มเกิดเป็นไซโกตเป็นแบบซุม

8.2.6. ทุกเซลล์พัฒนามาจากไซโกตแม่และพ่อ