การคลังสาธารณะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การคลังสาธารณะ by Mind Map: การคลังสาธารณะ

1. ความเบื้องต้น

1.1. คืออะไร

1.1.1. ความหมาย

1.1.1.1. ศึกษาเกี่ยวกับ การใช้จ่าย การหารายได้ การก่อหนี้และการใช้นโยบายการคลังของรัฐบาล

1.1.2. การกำเนิด

1.1.2.1. จากความซับซ้อนของระบบเศรษฐกิจ

1.1.2.2. ความซับซ้อนของกลไกในการบริหารด้านการเงินของภาครัฐ

1.1.3. ความแตกต่างจากการเงินของเอกชน

1.1.3.1. วัตถุประสงค์แตกต่าง

1.1.3.1.1. เพราะรัฐมุ่งหวังให้ได้ประโยชน์กับส่วนรวมให้มากที่สุด (Welfare optimization)

1.1.3.2. กิจกรรมที่เน้น

1.1.3.2.1. เน้นภาระกิจที่จะทำเป็นหลักก่อน หรือเน้นการใช้จ่ายก่อน

1.1.3.2.2. เพราะมีอำนาจในการหาเงินจาก

1.1.3.3. การใช้นโยบายการคลัง

1.1.3.3.1. การออกกฎหมายเพื่อการจัดเก็บภาษี

1.1.3.3.2. การพิมพ์ธนบัตร

1.1.3.3.3. การก่อหนี้

1.2. วิวัฒนาการ

1.2.1. ก่อนปี 1930's

1.2.1.1. การค้าขายระหว่างประเทศเป็นความมั่งคั่ง คิดแบบพาณิชย์นิยม (Mercantilism) เน้นส่งออกมากกว่านำเข้า และการกีดกันทางการค้า

1.2.1.2. หน้าที่ของการคลัง

1.2.1.2.1. ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ

1.2.1.3. มีกระบวนการขออนุมัติการจ่ายเงินและการเก็บรายได้อย่างที่ทำในปัจจุบัน ที่ต้องได้รับความเห็นชอบจากประชาชน

1.2.1.4. การคลังมีความหมายมากขึ้นเพราะ

1.2.1.4.1. อยู่ในภาวะสงครามที่ต้องเพิ่มภาษีและก่อหนี้

1.2.1.4.2. การปฎิวัติอุตสาหกรรม

1.2.1.4.3. การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ที่ต้องใช้เงินทุนสนับสนุนนโยบายนี้

1.2.1.5. เน้นเศรษฐศาสตร์จุลภาค

1.2.1.5.1. ผลกระทบของภาษี

1.2.1.5.2. การใช้จ่ายที่เหมาะสม

1.2.1.5.3. ผลกระทบของการก่อหนี้

1.2.2. 1930's - 1940's

1.2.2.1. John Maynard Keynes

1.2.2.1.1. เขียน The General Theory of Employment, Interest and Money ที่เป็นรากฐานของเศรษฐศาสตร์มหภาค

1.2.2.1.2. สรุปสมการพื้นฐานว่า Y = C + I + G

1.2.2.1.3. G จากภาครัฐจะเป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาการว่างงานและเศรษฐกิจตกต่ำ

1.2.2.2. Alvin Hansen

1.2.2.2.1. เขียน Business Cycle and Fiscal Policy

1.2.2.2.2. สร้างกลไกของนโยบายการคลังโดยใช้เครื่องมือคือ ภาษี การใช้จ่ายภาครัฐและการ่ก่อหนี้

1.2.2.3. 1944 อังกฤษใช้ภาษีอาการและการใช้จ่ายเพื่อทำให้ อุปสงค์รวมเท่ากับอุปทานรวม เพือให้เกิดการเติมโตและการจ้างงานเต็มที่ (Employment policy)

1.2.2.4. 1946 USA ออก Employment Act เพื่อการใช้นโยบายการคลังในการสร้างการเติบโตและการแก้ปัญหาเงินเฟ้อ

1.2.3. 1950's

1.2.3.1. 1959 Richard A. Musgrave เขียน The Theory of Public Finance

1.2.3.1.1. ใช้ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์มาวิเคราะห์การคลัง

1.2.3.1.2. ใช้นโยบายการคลังความสมดุลของ

1.2.4. 1960's - 1970's

1.2.4.1. เน้นรายจ่าย

1.2.4.2. การตัดสินใจที่ใช้วิธีการตัดสินใจแบบเอกชน (ไม่มีเหตุผลทางการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง)

1.2.4.3. ในไทยเห็นความสำคัญของการคลังมากขึ้นเนื่องมาจาก

1.2.4.3.1. วิกฤติปี 2540

1.2.4.3.2. การใช้นโยบายประชานิยมมากขึ้น

1.3. ทำไมต้องศึกษาวิชาการคลัง

1.3.1. ผลกระทบของการคลังภาครัฐฯต่อภาคเอกชนมีสูงขึ้้น เช่น

1.3.1.1. ด้านการจัดสรรทรัพยากร

1.3.2. ค่าใช้จ่ายภาครัฐฯมีสัดส่วนสูง มีผลต่อ

1.3.2.1. การผลิต

1.3.2.2. การจ้างงาน

1.3.2.3. ราคา

1.3.2.3.1. เงินเฟ้อ

1.3.2.4. อำนาจซื้อของประชาชนน

1.3.3. เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของประชาชนมากขึ้น

1.3.3.1. ภาษีที่ต้องจ่ายคิดเป็นร้อยละ 16 ของรายได้ประชาชาติ

1.3.4. การใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นทำให้ต้องมีการก่อหนี้มากขึ้น ซึ่งมีผลต่อรัฐบาลและประชาชน

1.3.5. วิกฤติในระยะหลังกินเวลายาวนานขึ้น ต้องอาศัยเครื่องมือทางการคลังที่มีประสิทธิภาพ

1.3.6. ปัญหาความเป็นธรรม เช่นความยากจน (มีคนไทยประมาณ 10 ล้านคน ที่ยังยากจนอยู่) มาตรการทางการคลังน่าจะเป็นเครื่องมือที่เหมาะสม

1.4. ประวัติการคลังของไทย (ถึงปี 2475)

1.4.1. สุโขทัย

1.4.1.1. รายได้มาจาก

1.4.1.1.1. เครื่องราชบรรณาการ

1.4.1.1.2. การค้าขายโดยรัฐ เช่นการค้าขายกับจีน

1.4.1.2. รายจ่าย

1.4.1.2.1. การเกณฑ์แรงงาน

1.4.1.2.2. การใช้วัสดุตามธรรมชาติ

1.4.2. กรุงศรีอยุธยา

1.4.2.1. สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ

1.4.2.1.1. จุตสดมภ์ 4

1.4.3. รัตนโกสินทร์

1.4.3.1. ร.๑

1.4.3.1.1. ภาษี

1.4.3.2. ร.๓

1.4.3.2.1. ในภาวะสงครามยอมให้ผู้จัดเก็บ (เจ้าภาษี ที่ตัดตอนไปจัดเก็บภาษีให้) ชักผลประโยชน์จากการช่วยเก็บภาษีได้

1.4.3.2.2. ภาษีใหม่

1.4.3.3. ร.๔

1.4.3.3.1. การปรับปรุง

1.4.3.3.2. มีพรบ.วิธีการงบประมาณ เมื่อ 2456

1.4.4. หลังปี 2476

1.4.4.1. ออกพรบ.อากรมรดกและการรับมรดกเมื่อ พ.ศ. 2476

1.4.4.2. การจัดเก็บค่าภาคหลวง

1.4.4.3. การเก็บค่าพรีเมี่ยมข้าว

1.4.4.4. การลดหนี้สาธารณะระหว่าง 2532 - 2539

1.4.4.5. การใช้นโยบายการคลังหลัววิกฤติ 2540

1.5. วิชาที่เกี่ยวข้อง

1.5.1. เศรษฐศาสตร์ เพื่อมีความมั่นใจและมีประสิทธิภาพในการตัดสินใจ

1.5.1.1. มหภาค

1.5.1.1.1. ดูภาพรวมของระบบเศรษฐกิจเช่น รายได้ประชาชาติ

1.5.1.2. จุลภาค

1.5.1.2.1. ดูผลกระทบต่อบุคคล องค์กร และราคาสินค้าแต่ละชนิด

1.5.1.3. เศรษฐมิติ

1.5.1.3.1. ดูผลกระทบอย่างละเอียด

1.5.2. การเมือง

1.5.2.1. เกี่ยวโยงกับกลไกการตัดสินใจทางการเมือง

1.5.3. กฏหมาย

1.5.3.1. กระบวนการอนุมัติรายจ่าย

1.5.3.2. กระบวนการผ่านกฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร

1.5.3.3. การร่างกฎหมาย

1.5.4. จริยธรรม

1.5.4.1. สำหรับผู้รับผิดชอบในการวางนโยบายและปฏิบัติด้านการคลัง