Data Model
von thanapath kawsa-ard
1. Relation Model
1.1. การนำไปใช้ มีแบบ one to one one to many many to many
1.1.1. ความหมาย เป็นแบบจำลองข้อมูล ที่ได้รับความนิยมสูงสุด มีโครงสร้างข้อมูลพื้นฐานแบบเดียวกันเท่านั้น และเป็นแบบที่ง่าย คือมีลักษณะเหมือนกับโครงสร้างตาราง ฐานข้อมูล คือ กลุ่มของตารางความสัมพันธ์ แต่ละแถวของข้อมูลในตาราง คือ ชุดข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน
1.2. ข้อดี 1.โครงสร้างมีความอิสระ 2.เรียกดูข้อมูลได้ด้วยSQL 3.DBMS รอบรับ 4.Security ดี ข้อเสีย 1.ลงทุนสูง 2.ปรับปรุงแฟ้มยาก 3.ค่าใช้จ่ายสูง
2. Object Relation Model
2.1. ความหมาย การmapข้อมูลในตารางข้อมูลของฐานข้อมูลให้อยู่ในรูปของobject-oriented languageซึ่งจะเป็นการสร้างDatabaseแบบเสมือนขึ้นให้มาอยู่ในรูปlanguage programmingทำให้ไม่ต้องไปยุ่งกับSQL Statementซึ่งถ้ามีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขต้องแก้ไขที่ตัวโปรแกรมแทน และการกระทำต่างๆยังคงเป็นแบบRelationalเหมือนเดิม
2.2. ข้อดี • มีความเป็นอิสระนโครงสร้าง • การเรียกดูข้อมูล สามารถเรียกได้ด้วยชุดคำสั่ง SQL • มีระบบความปลอดภัยที่ดี ข้อเสีย • มีการลงทุนสูง ( Hardware , Software ) • มีค่าใช้จ่ายของระบบสูงมาก • มีการแก้ไขปรับปรุงแฟ้มข้อมูลได้ยาก
3. Semi-Structured Data
3.1. คือข้อมูลที่ถูกจัดเก็บอยางมีรูปแบบในระดับหนึ่งและข้อมูลที่สามารถค้นหา search หรือแท็ก tag ได้
3.2. ข้อดี • ข้อมูลเป็นแบบพกพา • รองรับผู้ใช้ที่ไม่สามารถแสดงความต้องการใน SQL ได้ • สามารถจัดการกับความแตกต่างของแหล่งที่มาได้อย่างง่ายดาย ข้อเสีย • การตีความความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเป็นเรื่องยาก เนื่องจากไม่มีการแยกschema และข้อมูล • คำค้นหาที่มีประสิทธิภาพน้อยลง เมื่อเทียบกับข้อมูลที่มีโครงสร้าง
4. Hierarchical Model ( Tree - based )
4.1. ข้อมูลถูกจัดเก็บเป็นโครงสร้างแบบบนล่าง ลักษณะคล้ายโครงสร้างต้นไม้ (Tree Structure) มีการสืบทอดเป็นลำดับชั้น โหนดสูงสุดจะเรียกว่าราก (Root) โหนดระดับล่างลงมาจะเรียกว่า (Leaves) เรียกฐานข้อมูลในระดับนี้อีกชื่อหนึ่งว่าซิกเมนต์ (Segment)
4.2. ข้อดี • เป็นระบบฐานข้อมูลที่มีระบบโครงสร้างซับซ้อนน้อยที่สุด • มีค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างฐานข้อมูลน้อย • ลักษณะโครงสร้างเข้าใจง่าย • ป้องกันระบบความลับของข้อมูลได้ดี ข้อเสีย • ยากต่อการพัฒนา ผู้พัฒนาต้องมีความเข้าใจโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ภายในฐานข้อมูล • ขาดมาตรฐานการรองรับที่ชัดเจน
5. Network Graph
5.1. ความหมาย เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างองค์ประกอบ (Node) โดยใช้การเชื่อมโยงที่เรียบง่าย กราฟเครือข่ายช่วยให้เราเห็นภาพกลุ่ม และความสัมพันธ์ระหว่างNodeได้อย่างรวดเร็ว
5.2. ข้อดี -มีหลักการที่ง่ายใกล้เคียงกับแบบลำดับขั้น -การเข้าถึงข้อมูลมีความยืดหยุ่นสูงกว่าแบบลำดับ ขั้นและแฟ้มข้อมูล -ความซ้ำซ้อนในข้อมูลเกิดขึ้นน้อยกว่าแบบลำดับขั้น ข้อเสีย -การป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลมีน้อย เนื่องจากสามารถเข้าถึงRecordได้โดยตรง -ใช้ตัวชี้วัดตำแหน่งแบบPointerทำให้สิ้นเปลืองในหน่วยความจำ -การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างมีความยุ่งยาก
6. OOM Model
6.1. การสร้างวัตถุโดยใช้ชุดของวัตถุที่มีค่าที่เก็บไว้ของตัวแปรอินสแตนซ์ที่พบภายในออบเจ็กต์ ไม่เหมือนกับโมเดลที่เน้นกำรบันทึกค่ำเชิงวัตถุเป็นวัตถุเพียง อย่างเดียวซึ่งเกิดจำกแนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
6.2. ข้อดี 1) คุณสมบัติการสืบทอดทำให้ข้อมูลมีความคงสภาพสูง 2) การนำเสนอแบบ Visual ทำให้อธิบายหัวข้อความหมายได้ดี 3) สามารถจัดการกับข้อมูลที่มีความซับซ้อนได้เป็นอย่างดี 4) สนับสนุนคุณสมบัติของการนำกลับมาใช้ใหม่ (Reusable) 5) การเข้าถึงข้อมูลในแบบจำลองข้อมูลเชิงวัตถุผู้ใช้ไม่จำเป็นต้อง รู้วิธีการทำงานภายในของแต่ละโอเปอเรชันของวัตถุ ข้อเสีย 1) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับระบบแบบจำลองข้อมูลเชิงวัตถุค่อนข้ำงสูง 2) ต้องอำศัยบุคลำกรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีเชิงวัตถุในกำรจัดกำรกับฐำนข้อมูลเชิงวัตถุ 3) ยังไม่มีมาตรฐานรองรับที่ชัดเจน
7. Entity Relationship Model
7.1. ความหมาย การออกแบบในระดับแนวคิดในลักษณะจากบนมาล่าง โดยผลจากการออกแบบฐานข้อมูล จะได้เค้าร่างในระดับแนวคิด ที่ประกอบด้วย 1.เอนทิตี้ที่ควรจะมีในระบบ 2.ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ว่าเป็นอย่างไร 3.แอททริบิวต์ซึ่งเป็นรายละเอียดที่อธิบายเอนทิตี้และมีความสัมพันธ์กันอย่างไรบ้าง
7.2. ข้อดี 1.ทั้งข้อมูลและโครงสร้างมีความเป็นอิสระจากโปรแกรมที่ใช้ 2.มีDBMS ให้เลือกใช้งานหลากหลาย ข้อเสีย 1.ใช้ทรัพยากรจาก Hardware และ Operating System ค่อนข้างสูง เนื่องจากDBMS ของฐานข้อมูลที่โครงสร้างแบบ Relational จะทำหน้าที่จัดการข้อมูลภายในฐานข้อมูลแทนผู้ใช้